คณาจารย์สาขาวิศวกรรมเคมี

Asst.Prof.Dr.Khwanchit Wongcharee

ผศ.ดร. ขวัญจิต วงษ์ชารี
ตำแหน่ง: ผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ด. วิศวกรรมเคมี The University of New South Wales
  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • วศ.บ. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การทำงาน

  • 2536-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

วิชาที่สอน

  • CHEG0220 เทอร์โมไดนามิกส์วิศวกรรมเคมี I
  • CHEG0325 เทอร์โมไดนามกส์วิศวกรรมเคมี II
  • CHEG0490* โครงงานวิศวกรรม I
  • CHEG0491* โครงงานวิศวกรรม II
  • CHEG0703 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ทุนวิจัย

  • 2549-2550 หัวหน้าโครงการวิจัย: การเตรียมเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงโดยใช้สีย้อมธรรมชาติทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ จาก สกว.
  • 2553-2556 หัวหน้าโครงการวิจัย: การพัฒนาการเคลือบฟิล์มโฟโครมิกบนพอลิคาร์บอเนต (2010-2013) ทุนวิจัยจาก บ.

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Solar Cell Technology, Coating Technology, Heat Transfer Enhancement

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

ตำรา

  1. สมชัย อัครทิวา และ ขวัญจิต วงษ์ชารี (2549). เทอร์โมไดนามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล.
เอกสารประกอบการสอน

  1. ขวัญจิต วงษ์ชารี (2551). เทอร์โมไดนามิกส์วิศวกรรมเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
  1. Khwanchit Wongcharee, Smith Eiamsa-ard, Heat transfer enhancement by using CuO/water nanofluid in corrugated tube equipped with twisted tape, International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 39, Issue 2, 2012, Pages 251-257.
  2. Smith Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Single-phase heat transfer of CuO/water nanofluids in micro-fin tube equipped with dual twisted-tapes, International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 39, Issue 9, 2012, Pages 1453-1459.
  3. Kwanchai Nanan, Khwanchit Wongcharee, Chayut Nuntadusit, Smith Eiamsa-ard, Forced convective heat transfer by swirling impinging jets issuing from nozzles equipped with twisted tapes,International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 39, Issue 6, 2012, Pages 844-852.
  4. Khwanchit Wongcharee, Smith Eiamsa-ard, Enhancement of heat transfer using CuO/water nanofluid and twisted tape with alternate axis, International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 38, Issue 6, 2011, Pages 742-748.
  5. Khwanchit Wongcharee, Smith Eiamsa-ard, Heat transfer enhancement by twisted tapes with alternate-axes and triangular, rectangular and trapezoidal wings,Chemical Engineering and Processing: Process Intensification, Volume 50, Issue 2, 2011, Pages 211-219.
  6. Khwanchit Wongcharee, Smith Eiamsa-ard, Friction and heat transfer characteristics of laminar swirl flow through the round tubes inserted with alternate clockwise and counter-clockwise twisted-tapes, International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 38, Issue 3, 2011, Pages 348-352.
  7. Smith Eiamsa-ard, Panida Seemawute, Khwanchit Wongcharee, Influences of peripherally-cut twisted tape insert on heat transfer and thermal performance characteristics in laminar and turbulent tube flows,Experimental Thermal and Fluid Science, Volume 34, Issue 6, 2010, Pages 711-719.
  8. Smith Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Petpices Eiamsa-ard, Chinaruk Thianpong, Thermohydraulic investigation of turbulent flow through a round tube equipped with twisted tapes consisting of centre wings and alternate-axes,Experimental Thermal and Fluid Science, Volume 34, Issue 8, 2010, Pages 1151-1161.
  9. Smith Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Pongjet Promvonge, Experimental investigation on energy separation in a counter-flow Ranque–Hilsch vortex tube: Effect of cooling a hot tube,International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 37, Issue 2, 2010, Pages 156-162.
  10. Smith Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Petpices Eiamsa-ard, Chinaruk Thianpong,Heat transfer enhancement in a tube using delta-winglet twisted tape inserts, Applied Thermal Engineering, Volume 30, Issue 4, 2010, Pages 310-318.
  11. Smith Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Somchai Sripattanapipat, 3-D Numerical simulation of swirling flow and convective heat transfer in a circular tube induced by means of loose-fit twisted tapes,International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 36, Issue 9, 2009, Pages 947-955.
  12. Chinaruk Thianpong, Petpices Eiamsa-ard, Khwanchit Wongcharee, Smith Eiamsa-ard, Compound heat transfer enhancement of a dimpled tube with a twisted tape swirl generator,International Communications in Heat and Mass Transfer, Volume 36, Issue 7, 2009, Pages 698-704.
  13. Khwanchit Wongcharee, Vissanu Meeyoo, Sumaeth Chavadej, Dye-sensitized solar cell using natural dyes extracted from rosella and blue pea flowers,Solar Energy Materials and Solar Cells, Volume 91, Issue 7, 2007, Pages 566-571.
  14. Wongcharee, K.; Brungs, M.; Chaplin, R.; Hong, Y.J.; Pillar, R.; Sizgek, E., Sol-Gel Processing by Aging and Pore Creator Addition for Porous Silica Antireflective Coatings. Journal of Sol-Gel Science and Technology vol. 25 issue 3 December 2002. p. 215-221.
  15. Wongcharee, K.; Brungs, M.; Chaplin, R.; Hong, Y.J.; Sizgek, E., Influence of Surfactant and Humidity on Sol-Gel Macroporous Organosilicate Coatings. Journal of Sol-Gel Science and Technology vol. 29 issue 2 February 2004. p. 115-124.
การประชุมวิชาการ

  1. Khwanchit Wongcharee, Somsak Pethkool, Chinaruk Thianpong, Heat transfer enhancement in a bouble pipe heat exchanger by insertion of propeller-type swirl generators, Proceedings of the 14th International Heat Transfer Conference (IHTC14), Washington D.C., USA, August 7-13, 2010.

สถานที่ติดต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530 โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
E-mail khwanchi@mut.ac.th
Close

Assoc.Prof.Dr. Vissanu Meeyoo

รศ. ดร. วิษณุ มีอยู่
ตำแหน่ง: รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัย

การศึกษา

  • วศ.ด. วิศวกรรมเคมี The University of New South Wales
  • วท.บ. เคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เกียรตินิยมอันดับ 1)

การทำงาน

  • 2534-2535 วิศวกรกระบวนการ บ.เอสโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด
  • 2536-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
  • 2552- ปัจจุบัน รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัย

วิชาที่สอน

  • CHEG0411 การออกแบบอุปกรณ์ทางวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0415 การออกแบบโรงงานทางวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0704 จลนพลศาสตร์และการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ทุนวิจัย

  • 2545-2547 หัวหน้าโครงการวิจัย: Waste to Energy (TRF funding)
  • 2549-2551 หัวหน้าโครงการวิจัย: Hydrogen Production from Ethanol: A process design for Hydrogen Station
  • 2552-ปัจจุบัน หัวหน้าโครงการวิจัย: Catalyst and Process Development for Wet Air Oxidation Process (PTT Phenol)

งานวิจัยที่สนใจ

    Nano-materials, Catalysis and Reaction Engineering Research Interest: Nanomaterials, Catalysis and Reaction Engineering, Air Pollution,Control Technology, Renewable Energy, Solar Cell

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

วารสารวิชาการ

  1. A.A. Adesina, V. Meeyoo, and G. Foulds, "Thermolysis of Hydrogen Sulphide in an Open Tubular Reactor", Int. J. Hydrogen Energy, 20, 10, 777-783 (1995).
  2. V. Meeyoo, A.A. Adesina and G. Foulds, "The Kinetics of H2S Decomposition over Precipitated Cobalt Sulphide", Chem.Eng.Comm., 144,1-7 (1996).
  3. V. Meeyoo, A.A. Adesina and G. Foulds, "H2S Desulphurisation: The role of Metal Loading on the Activity of Supported MoS2Prepared via PFHS Method", React. Kinet. & Catal. Lett., 56(2), 231-240 (1996).
  4. V. Meeyoo, D.L. Trimm and N.W. Cant, "Adsorption-Reaction Processes for the Removal of Hydrogen Sulphide from Gas streams", J. Chem. Tech. Biotechnol., 68, 411-416 (1997).
  5. P.C. Wright, V. Meeyoo and W.K. Soh, "Formulation of an Ozone Mass Transfer Model for a Current Downflow Jet Contactor", Ozone. Sci. Eng., 20(1), 17-33 (1998).
  6. V. Meeyoo, D.L. Trimm and N.W. Cant, "The effect of sulphur containing pollutants of the oxidation activity metals used in vehicle exhaust catalysts", Applied Catalysis B, 16, L101-L104 (1998).
  7. V. Meeyoo, J.H. Lee, D.L. Trimm and N.W. Cant, "Hydrogen sulphide emission control by combined adsorption and catalytic combustion", Catalysis Today, 44, 67-72 (1998).
  8. C. Semulya, V. Meeyoo and R. Amal, "Mechanism of Cr (VI) removal from water by various types of activated carbons", J. Chem. Tech. Biotechnol., 74, 111-122 (1999).
  9. Mark T. Bustard, J Grant Burgess, Vissanu Meeyoo and Phillip C Wright, "Novel opportunities for marine hyperthermophiles in emerging biotechnology and engineering industries", J. Chem. Tech. Biotechnol., 75, 1095-1109 (2000).
  10. Matina Thammachart, Vissanu Meeyoo, Thirasak Risksomboon and Somchai Osuwan, "Catalytic Activity of CeO2-ZrO2 Mixed Oxide Catalysts Prepared via Sol-Gel Technique: CO Oxidation", Catalysis Today 68, 53-61 (2001).
  11. M.T. Bustard, V. Meeyoo and P.C. Wright, "Biodegradation of High Concentration Isopropanol Vapour in a Biofilter Inoculated with a Solvent-Tolerant Microbial Consortium", Trans IChemE., 79, 1-7 (2001).
  12. M.T. Bustard, V. Meeyoo and P.C. Wright, "Biodegradation of Isopropanol in three phase fixed bed bioreactor: Start up and acclimation using a previously enriched microbial culture", Environ Technol. 22, 1193-1201 (2001).
  13. M. Leethochawalit, M.T. Bustard, V. Meeyoo and P.C. Wright, “Novel Vapor-Phase Biofiltration and Catalytic Combustion of Volatile Organic Compounds:, Ind. Eng. Chem. Res., 40, 5334-5341 (2001)
  14. Mark T. Bustard, Vissanu Meeyoo, Phillip C. Wright, “Kinetic analysis of high-concentration isopropanol biodegradation by a solvent-tolerant mixed microbial culture”, Biotechnology and Bioengineering, 78(6), 708-713 (2002)
  15. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon, Kunchana Bunyakiat, “Catalytic oxidation of methane over CeO2-ZrO2 mixed oxide solid solution catalysts prepared via urea hydrolysis”, Applied Catalysis A: General, 234 (1-2), 223-235 (2002)
  16. P. Punnaruttanakun, V. Meeyoo, C.Kalambaheti, P. Rangsunvigit, T. Rirksomboon, B. Kitiyanan, “Pyrolysis of API Separator Sludge”, J. Anal. Appl. Pyrol. 68-69, 547-560 (2003)
  17. J. Wootthikanokkan, A. Jaturapiree, V. Meeyoo, “Effect of Metal Compounds and Experimental Conditions on Distribution of Products of PVC Pyrolysis”, Journal of Polymer and the Environment,11(1), 1-6 (2003)
  18. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon, “Methane Partial Oxidation over Ni/CeO2-ZrO2 Mixed Oxide Solid Solution Catalysts”, Catalysis Today, 93-95, 95-105 (2004)
  19. Malinee Leethochawalit, Julian Goodwin, Vissanu Meeyoo, Mark T. Bustard and Phillip C.Wright, “Application of a Solvent–Tolerant Microbial Consortium for Biofiltration of Extremely High Concentration Gaseous Solvent Streams”, Envi. Tech., 25,491-499 (2004)
  20. Satida Krailas, Suppalak Tongta and Vissanu Meeyoo, “Macrokinetic determination of isopropanol removal using a downward flow biofilter”, Sonklanakarin J. Sci. Technol., 26(1) 56-64 (2004)
  21. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon, “Oxidation of Methane Over Nb-Doped Ce0.75Zr0.25O2 Mixed Oxide Solid Solution Catalysts”, J. Chem. Eng. Japan, 38 (1), 49-53 (2005)
  22. Puchong Thipkhunthod, Vissanu Meeyoo, Pramoch Rangsunvigit,Boonyarach Kitiyanan, Kitipat Siemanond and Thirasak Rirksomboon, “Predicting the heating value of sewage sludges in Thailand from proximate and ultimate analyses”, Fuel, 84, 849-857 (2005)
  23. O. Montrikool, J. Wootthikanokkhan, V. Meeyoo, “Effects of maleic anhydride on degradation of PVC during pyrolysis”, J. Anal. Appl. Pyrol. 73(1), 77-84 (2005)
  24. Chaiklangmuang S, Photiprasit J. and Meeyoo V. “Characteristics of Sewage Sludge Pyrolysis from Chiang Mai University Wastewater Treatment Plant”, J. Sci., 32 (1), 31-37 (2005)
  25. Puchong Thipkhunthod, Vissanu Meeyoo, Pramoch Rangsunvigit,Boonyarach Kitiyanan, Kitipat Siemanond and Thirasak Rirksomboon, “Pyrolytic Characteristics of Sewage Sludge”, Chemosphere 64, 955-962, (2006)
  26. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon and Johannes Schwank, “Hydrogen production from partial oxidation of iso-octane over Ni/Ce0.75Zr0.25O2 and Ni/”Al2O3 catalysts”, Applied Catalysis A: General, 302, 133-139 (2006)
  27. Siriphong Rojluechai, Sumaeth Chavadej, Johannes W. Schwank and Vissanu Meeyoo, “Activity of Ethylene Epoxidation over High Surface Area Alumina Support Au–Ag Catalysts”, J. Chem. Eng. Japan, 39 (3), 321-326 (2006)
  28. Siriphong Rojluechai, Sumaeth Chavadej, Johannes W. Schwank and Vissanu Meeyoo “Catalytic Activity of Ethylene Oxidation over Au, Ag and Au-Ag Catalysts: Support Effect”, Catalysis Communications, 8, 57-64 (2007)
  29. Charothon Jindarom, Vissanu Meeyoo, Pramoch Rangsunvigit, and Thirasak Rirksomboon “Thermochemical decomposition of sewage sludge in CO2 and N2 atmosphere” Chemosphere, 67, 1477-1484 (2007)
  30. Khwanchit Wongcharee, Vissanu Meeyoo and Sumaeth Chavadej “Dye-sensitized solar cell using natural dyes extracted from rosella and blue pea flowers” Solar Energy Materials and Solar Cells, 91, 566-571 (2007)
  31. Puchong Thipkhunthod, Vissanu Meeyoo, Pramoch Rangsunvigit and Thirasak Rirksomboon “Describing sewage sludge pyrolysis kinetics by a combination of biomass fractions decomposition” Journal of Analytical and Applied Pyrolysis, 79, 78-85 (2007)
  32. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon and Johannes Schwank “The Effect of Nb Loading on Catalytic Properties of Ni/Ce0.75Zr0.25O2 Catalyst for Methane Partial Oxidation” Journal of Natural Gas Chemistry, 16, 227-234, (2007)
  33. Charothon Jindarom, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Thirasak Rirksomboon and Pramoch Rangsunvigit “Surface characterization and dye adsorptive capacities of char obtained from pyrolysis/gasification of sewage sludge” Chemical Engineering Journal, 133, 239-246, ( 2007)
  34. Sitthiphong Pengpanich, Vissanu Meeyoo, Thirasak Rirksomboon, Johannes Schwank, “Iso-octane Partial Oxidation over Ni-Sn/Ce0.75Zr0.25O2 Catalysts”, Catalysis Today, 136, 214-221 (2008)
  35. Asawin Bampenrat, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, “Catalytic oxidation of naphthalene over CeO2–ZrO2 mixed oxide catalysts”, Catalysis Communications, 9, 2349-2352 (2008)
  36. C. Thanachayanont, K. Inpor, S. Sahastithiwat, V. Meeyoo, “MEH-PPV/CdS Nanorod Plymer Solar Cells”, J. Korean Physical Society, 52 (5), 1540-1544 (2008)
  37. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, “Catalytic combustion of methane over NiO/ Ce0.75Zr0.25O2 catalyst” Catalysis Communications, 10 (5), 673-677 (2009)
  38. Asawin Bampenrat, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, “Naphthalene steam reforming over Mn-doped CeO2–ZrO2 supported nickel catalysts” Applied Catalysis A: General, 373, 154-159 (2010)
  39. Kroekchai Inpor, Vissanu Meeyoo, Chanchana Thanachayanont, “Enhancement of photovoltaic performance using hybrid CdS nanorods and MEH-PPV active layer in ITO/TiO2/MEH-PPV:CdS/Au devices”, Current Applied Physics, 11(1), S171-S174 (2011)
  40. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, “Hydrogen production by steam reforming of acetic acid over Ni-based catalysts”, Catalysis Today, 164 (1), 257-261, (2011)
  41. Pailin Ngaotrakanwiwat, Vissanu Meeyoo, “TiO2-V2O5 nanocomposites as alternative energy storage substances for photocatalysts”, J. Nanosci. Nanotechnol., 12, 828-833 (2012)
Book chapter

    Sumaeth Chavadej, Siriphong Rojluechai, Johannes W. Schwank, Vissanu Meeyoo, “Effect of Support on Ethylene Epoxidation on Ag, Au, and Au-Ag Catalysts”, Mechanisms in Homogeneous and Heterogeneous Epoxidation Catalysis, 283-296 (2008)

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กทมฯ 10530
โทรศัพท์ 02-9883655 ต่อ 2328, 2325
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
E-mail Vissanu@mut.ac.th
Close

Dr.Narisara Intrachadra

ดร. นริศรา อินทรจันทร์
ตำแหน่ง: รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ด. วิศวกรรมเคมี Imperial College of Science, London
  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.บ. เคมีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • 2536 - 2545 อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 2545 - ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่ง รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร และ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG0211 การคำนวณเบื้องต้นในวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0230 เคมีฟิสิกัลสำหรับวิศวกรเคมี
  • CHEG0291* ปฏิบัติการเคมีฟิสิกัล
  • CHEG0450 กระบวนการหมัก
  • CHEG0460* วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม
  • CHEG0703 อุณหพลศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

  1. การบำบัดน้ำเสีย และของเสียด้วยกระบวนการทางชีวภาพ
  2. การเผาไหม้ชีวมวล (biomass) และวิศวกรรมทางความร้อน
  3. การใช้ประโยชน์จากชีวมวล

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารคำสอน

  1. นริศรา อินทรจันทร์ (2548). เคมีฟิสิกัลสำหรับวิศวกรเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร.
  2. นริศรา อินทรจันทร์ (2553). การคำนวณเบื้องต้นในวิศวกรรมเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
เอกสารประกอบการสอน

  1. นริศรา อินทรจันทร์ และ วิชชุลดา ชัยพร (2550). วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
คู่มือปฏิบัติการ

  1. นริศรา อินทรจันทร์, วิชชุลดา ชัยพร และ ชิดชนน์ สารรักษ์ (2550). คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
วารสารวิชาการ

  1. Langenhoff, Alette A.M.; Intrachandra, Narisara; Stuckey, David C. (2000) Treatment of dilute soluble and colloidal wastewater using an anaerobic baffled reactor: influence of hydraulic retention time, Water Research, Vol. 34(4), pp. 1307-1317
  2. Narisara Intarachandra and Khanitha Kamwilaisak, Colour Removal of Dye-Containing Wastewater by Immobilised Laccase on TiO2 Support, Thai Environment Engineering Journal (2007), Vol. 21(3).
  3. นริศรา อินทรจันทร์, ไบโอไฮโดรเจน พลังงานสะอาดจากชีวมวล, Thai Environmental Engineering Magazine, Vol. 6 No. 4-5 July – December 2009
การประชุมวิชาการ

  1. Narisara Intarachandra, Supphalak Tongta, and Vissanu Meeyoo (2002) Biogas Production from Co-digestion of Animal Wastes, the Proceeding of the 9th APCChE congress and CHEMECA, New Zealand, 29 September-3 October 2002
  2. Narisara Intarachandra and Khanitta Kumwilisak ) 2549 ( ,Colour Removal of Dye-containing Wastewater by Immobilised Laccase on TiO2 Support, การประชุมวิชาการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 5 ประเทศไทย, 8-10 มีนาคม โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ 2549
  3. นริศรา อินทรจันทร์, ขวัญเพชร โชคบรรดาลสุข และธนาคาร สืบตระกูล, “การผลิตอัลฟาอะไมเลสจากการหมัก กากมะพร้าวในระบบการหมักในสภาพอาหารแห้ง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์ ครั้งที่ 17, 29-30 ตุลาคม 2550.
  4. นริศรา อินทรจันทร์, ศิวาวุธ นุชปาน และอุ้ม ศรีมูล, “การผลิตแก๊สไฮโดรเจนจากเศษอาหาร”, การประชุม วิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติครั้งที่ ครั้งที่ 11, 21-23 มีนาคม 2555 ณ โพธิ์วดล รีสอร์ท แอนด์ สปา, เชียงราย ประเทศไทย
  5. นริศรา อินทรจันทร์, กิตติศักดิ์ ปานปรีชา และศุภฤกษ์ อยู่ยืนยง, “การกำจัดโครเมียม (Cr6+) ออกจากสารละลาย ด้วยกระบวนการดูดซับโดยใช้เถ้าลอยจากหม้อต้มไอน้ำในโรงงานผลิตน้ำมันปาล์มดิบ,การประชุมวิชาการวิศวกรรม เคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, 25-26 ตุลาคม 2555, นครราชสีมา ประเทศไทย

สถานที่ติดต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Email mai.narisara@gmail.com
Close

Dr.Visanu Tanboonchuy

ดร. วิษณุ แทนบุญช่วย
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ด. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วศ.บ. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การทำงาน

  • 2545 - 2546 วิศวกร Ajinomoto (Thailand) Ltd.
  • 2548 - 2549 วิศวกร Mitsui Hygiene Materials
  • 2555 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG0320 จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์
  • CHEG0480 กระบวนการวิศวกรรมปิโตรเคมี
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • CHEG0701 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

    Waste water treatment, Material synthesis (Nanomaterials), Advanced oxidation process, Adsorption

ผลงานตีพิมพ์

วารสารวิชาการ

  1. Lo I.M.C., Tanboonchuy V., Yan D.Y.S., Grisdanurak N., Liao C.H.. (2012). A Hybrid Approach for PAHs and Metals Removal from Field-Contaminated Sediment Using Activated Persulfate Oxidation Coupled with Chemical-Enhanced Washing. Water Air Soil Pollut. 223:4801–4811.
  2. Sangkhun W., Laokiat L. ,Tanboonchuy V., Khamdahsag P., Grisdanurak N.. (2012). Photocatalytic degradation of BTEX using W-doped TiO2 immobilized on fiberglass cloth under visible light. Superlattices and Microstructures 52(4):632-642.
  3. Tanboonchuy V., Grisdanurak N., Liao C.H. (2012). Background species effect on aqueous arsenic removal by nano zero-valent iron using fractional factorial design. J. Haz. Mat. 205-206: 40–46.
  4. Tanboonchuy V., Grisdanurak N., Liao C.H. (2012). Nitrate probe for quantifying reducing power of nanoscale zero-valent iron. Sustain. Environ. Res. 22(3): 185–191.
  5. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. (2011). Gas-bubbled nano zero-valent iron process for high concentration arsenate removal. J. Haz. Mat. 186: 2123–2128.
  6. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. (2011). Impact of selected solution factors on arsenate and arsenite removal by nanoiron particles. Environ. Sci. Pollut. Res. 18: 857–864.
การประชุมวิชาการ

  1. Tanboonchuy V., Grisdanurak N., Liao C.H. A novel method for quantifying reducing capacity of nanoiron particles. International Conference on Nanotechnology – Researchand Commercialisation (ICONT2011) Sabah, MALASIA. 6-9 June, 2011.
  2. Tanboonchuy V., Grisdanurak N., Liao C.H. Arsenic Removal by Nanoiron in the Gas-bubbled Aqueous Solution. 2011 International Conference on Environmental Science and Engineering (ICESE 2011). Bali Island, INDONISIA. 1-3 April, 2011
  3. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. Arsenate removal by nano zero-valent iron in the gas bubbling system. 2010 International Conference on Applied Chemistry and Chemical Engineering (ICACCE 2010). Tokyo, JAPAN. 26-28 May, 2010.
  4. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. Influence of selected anions on arsenic removal by nano-zero valent iron. 2010 International Conference on Environmental Quality Concern, Control and Conservation (EQC3 2010). Tainan, TAIWAN. 22-23 May, 2010.
  5. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. Arsenic removal by nano zero-valent iron: effect of initial concentration and dissolved oxygen. 2010 Asian-Pacific Regional Conference on Practical Environmental Technologies (APRC 2010). Ubonratchathani, THAILAND. 22-27 March, 2010.
  6. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. Nanoiron technology for arsenic-contaminated groundwater treatment. 2009 Asian-Pacific Regional Conference on Practical Environmental Technologies (APRC 2009). Hanoi, VIETNAM. 7-8 August, 2009.
  7. Tanboonchuy V., Hsu J.C., Grisdanurak N., Liao C.H. Test of reducing power of nano zero-valent iron particles using nitrate as a chemical probe. The 6th Conference on Environmental Protection and Nanotechnology (EPTN 2009). Kaohsiung, TAIWAN. 22 May, 2009.
  8. Kanchanatip E., Tanboonchuy V., Grisdanurak N. Unrefined palm oil to biodiesel by cation exchange resins. International Symposium on Environmental Management (ISEM 2008). THAILAND. 22-23 September, 2008.
  9. Tanboonchuy V., Kajornchippunngam S. Effect of process on permeable PE film properties. Technology and Innovation for Sustainable Development Conference (TISD), THAILAND. 28-29 January, 2008.
  10. Tanboonchuy V., Kajornchippunngam S. Effect of CaCO3 and stretching on tensile and WVTR of PE film. The Thai Institute of Chemical Engineering and Applied Chemistry (TICHE 17), THAILAND. 29-30 October, 2007.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Email visanu_tan@hotmail.com
Close

Dr.Somsak Thaicharoensutcharittham

ดร. สมศักดิ์ ไทยเจริญสุจริตทำ
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ด วิศวกรรมปิโตรเคมี วิทยาลัยปิโตรเคมีและปิโตรเลียม
  • วศ. บ. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยมหานคร

การทำงาน

  • 2555-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

วิชาที่สอน

  • CHEG0412 การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • CHEG0415 การออกแบบโรงงานวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0701 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

วารสารวิชาการ

  1. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Hydrogen production by steam reforming of acetic acid over Ni-based catalysts,Catalysis Today, Volume 164, Issue 1, 2011, Pages 257-261.
  2. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Catalytic combustion of methane over NiO/Ce0.75Zr0.25O2 catalyst, Catalysis Communications, Volume 10, Issue 5, 2009, Pages 673-677.
ประชุมวิชาการ

  1. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Catalytic combustion of methane over Ni/Ce0.75Zr0.25O2 and Ni-Rh/Ce0.75Zr0.25O2, RGJ-Ph.D. Congress IX, Jomthien Palm Beach and Resort, Pattaya, Thailand, April 4-6, 2008.
  2. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Catalytic combustion of methane over NiO/Ce0.75Zr0.25O2 catalysts, The Thai Institute of Chemical Engineering and Applied Chemistry (TIChE18), Jomthien Palm Beach and Resort, Pattaya, October 20-21, 2008.
  3. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Catalytic combustion of methane over M/Ce0.75Zr0.25O2 catalysts with M=Fe, Co, Ni, and Rh, 6th World Congress on Oxidation Catalysis (6WCOC), Lille, France, July 5-10, 2009.
  4. Somsak Thaicharoensutcharittham, Vissanu Meeyoo, Boonyarach Kitiyanan, Pramoch Rangsunvigit, Thirasak Rirksomboon, Steam reforming of acetic acid over Ni-based catalysts, The Sixth Tokyo Conference on Advanced Catalytic Science and Technology & The Fifth Asia Pacific Congress on Catalysis (TOCAT6/APCAT5), Sapporo, Japan, July 18-23, 2010
  5. สมศักดิ์ ไทยเจริญสุจริตทำ, อัศวิน บำเพ็ญรัตน์, คณิณ ขำเมือง, บุญรัตน์ จู่วาที, บวรพงศ์ พรชุติ, ชาติชาญ ตรียะ เวชกุล, ประวิทย์ สิงห์โตทอง และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, “การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันไพโรไลซิสที่ได้จากขยะ พลาสติกโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิด MCM-41 และ MCM-41 ที่ดัดแปรด้วยอลูมินา”, การประชุมวิชาการวิศวกรรม เคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Chatchan Treeyawetchakul

ชาติชาญ ตรียะเวชกุล
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี Heriot-Watt University
  • วท.บ. เคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทำงาน

  • 2540 - 2542 ผู้ช่วยนักวิจัย และผู้ช่วยสอน ภาควิชาเคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2542 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG 0311 ปฏิบัติการหน่วย II
  • CHEG0430 พลศาสตร์และการควบคุมกระบวนการ
  • CHEG 0460 วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  1. Renewable Energy Technology
  2. Process and Plantwide control
  3. Process Simulation

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารประกอบการสอน

  1. ชาติชาญ ตรียะเวชกุล (2553). การประยุกต์คอมพิวเตอร์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหา นคร.
  2. ชาติชาญ ตรียะเวชกุล (2550). พลศาสตร์และการควบคุมกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.
การประชุมวิชาการ

  1. ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, ณัฏฐ์ สุริยาประเสริฐ, ชุติมา กัปตัน และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, การประเมินพลังงานและ เศรษฐศาสตร์ของการผลิตไบโอดีเซลด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบร่วมกับการกลั่นโดยใช้โปรแกรม ASPEN PLUS, การ ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  2. ประกฤษฏิ์จพร กุลประยงค์, วิไลวรรณ สุขสำราญ, อรกานต์ สุขศรีนวล,แวววิมล วรรัตน์, อัศวิน บำเพ็ญรัตน์, บวร พงศ์ พรชุติ, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, การดูดซับเบต้าแคโรทีนออกจากน้ำมันปาล์มดิบ ก่อนเข้าสู่กระบวนการการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ตัวดูดซับที่มีรูพรุนขนาดกลาง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมี และเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  3. บวรพงศ์ พรชุติ, หยาดฝน ปิ่นแก้ว, ยอดขวัญ กลิ่นนาค, อัศวิน บำเพ็ญรัตน์, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, และ ประวิทย์ สิงห์โตทอง, การทำไบโอดีเซลให้บริสุทธิ์ด้วยการดูดซับบนรูพรุนขนาดกลางชนิด MCM- 41 และ MCM-41 ที่ดัดแปรด้วยอลูมินา, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  4. Chatchan Treeyawetchakul, Pramoch Rangsanvijit, and Vissanu meeyoo, “Pyrolysis of Several Swage Sludge from Waste Water Treatment Plants: Municipal and Industry” Paper Presented at 3rd International Symposium on Incineration and Flue gas Treatment technologies, 2001.
  5. Sitthiphong Pengpanich, Bawarnpong Pornchuti, Chatchan Treeyawetchakul, Pravit Singtothong, “The role of alkali loading on catalytic properties of hydrotalcite catalyst for esterification of fatty acid”, Proceedings of The Sixth Tokyo Conference on Advanced Catalytic Science and Technology & The Fifth Asia Pacific Congress on Catalysis, Sapporo, Japan, 18-23 July 2010.
  6. Sitthiphong Pengpanich, Anucha Sitthisarikan, Siriwan Ploysitt, Chatchan Treeyawetchakul,“Co-pyrolysis of oil palm shell and lignite coal”, Proceedings of the 21st Thai Institute of Chemical Engineering and Applied Chemistry Conference, Songkla, 10-11 November 2011.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Thammanoon Udomman

ธรรมนูญ อุดมมั่น
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ม. วิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.บ. วิศวกรรมเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • 2541-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี

วิชาที่สอน

  • CHEG0445* กระบวนการวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • MATS0310 วัสดุวิศวกรรม
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารคำสอน

  1. ธรรมนูญ อุดมมั่น (2551). กระบวนการวิศวกรรมเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร.
การประชุมวิชาการ

  1. วิชชุลดา ชัยพร, ธรรมนูญ อุดมมั่น, ธีรทรัพย์ ดุสิต และ บัณฑิต อยู่เย็น, การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มด้วยตัวเร่ง ปฏิกิริยา KF/CaO ที่เตรียมได้จากเปลือกไข่ไก่, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Bowornpong Pornchuti

บวรพงศ์ พรชุติ
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วศ.บ. วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทำงาน

  • 2546 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG0310 การปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0350 ความปลอดภัยในการปฏิบัติการเคมี
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Separation and Purification Technology
  • การสังเคราะห์ และพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยา

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารประกอบการสอน

  1. บวรพงศ์ พรชุติ (2553). การปฏิบัติการหน่วย 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
  2. บวรพงศ์ พรชุติ (2548). การประยุกต์คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.
  3. บวรพงศ์ พรชุติ (2554). ความปลอดภัยในการปฏิบัติการเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร.
การประชุมวิชาการ

  1. บวรพงศ์ พรชุติ, หยาดฝน ปิ่นแก้ว, ยอดขวัญ กลิ่นนาค, อัศวิน บำเพ็ญรัตน์, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, และ ประวิทย์ สิงห์โตทอง, “การทำไบโอดีเซลให้บริสุทธิ์ด้วยการดูดซับบนรูพรุนขนาดกลางชนิด MCM-41 และ MCM-41 ที่ดัดแปรด้วยอลูมินา”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศ ไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  2. ประวิทย์ สิงห์โตทอง,ประกฤษฏิ์จพร กุลประยงค์, วิไลวรรณ สุขสำราญ, อรกานต์ สุขศรีนวล, แวววิมล วรรัตน์, อัศวิน บำเพ็ญรัตน์, บวรพงศ์ พรชุติ, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, “การดูด-ซับเบต้าแคโรที นออกจากน้ำมันปาล์มดิบก่อนเข้าสู่กระบวนการการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้ตัวดูดซับที่มีรูพรุนขนาดกลาง”, การ ประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  3. ชิดชนน์ สารรักษ์, มนัญญา ขจรเวคิน, สนิชา ธีรบุญโรจน์, บวรพงศ์ พรชุติ, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, อัศวิน บำเพ็ญ รัตน์, ประวิทย์ สิงห์โตทอง และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, “การสังเคราะห์ 5-hydroxymethylfurfural (HMF) จาก กลูโคสโดยใช้ MCM-41 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Witchulada Chaiyaporn

วิชชุลดา ชัยพร
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • วท.บ. เคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทำงาน

  • 2544-2546 Supervisor บริษัท แพ็คฟู้ด จำกัด
  • 2546 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG0405 การปฏิบัติการหน่วย III
  • CHEG0330* วิธีการคณิตศาสตร์ในวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0480 กระบวนการวิศวกรรมปิโตรเคมี
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • ตัวเร่งปฏิกิริยาของแข็งต้นทุนต่ำ สำหรับการผลิตไบโอดีเซล
  • การเผาไหม้เชื้อเพลิงชีวมวล และวิศวกรรมทางความร้อน

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารประกอบการสอน

  1. วิชชุลดา ชัยพร และ ชิดชนน์ สารรักษ์ (2554). การถ่ายเทความร้อน (การปฏิบัติการหน่วย 3). พิมพ์ครั้ง ที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
  2. นริศรา อินทรจันทร์ และ วิชชุลดา ชัยพร (2550). วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร.
คู่มือปฏิบัติการ

  1. นริศรา อินทรจันทร์, วิชชุลดา ชัยพร และ ชิดชนน์ สารรักษ์ (2550). คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
การประชุมวิชาการ

  1. วิชชุลดา ชัยพร, “การกำจัดโครเมียมและนิเกิลจากน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยถ่านกัมมันต์จากไม้โกงกาง”, การประชุม วิชาการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติครั้งที่ 10, ร.ร.บีพีสมิหลาบีชแอนด์รีสอร์ท สงขลา, 23-25 มี.ค. 2554
  2. วิชชุลดา ชัยพร, ธรรมนูญ อุดมมั่น, ธีรทรัพย์ ดุสิต และ บัณฑิต อยู่เย็น, “การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มด้วย ตัวเร่งปฏิกิริยา KF/CaO ที่เตรียมได้จากเปลือกไข่ไก่”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่ง ประเทศไทยครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Chidchon Sararuk

ชิดชนน์ สารรักษ์
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาและบัณฑิตศึกษาสาขาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วศ.ม. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วศ.บ. วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การทำงาน

  • 2547-2548 ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ตำแหน่ง ผู้ช่วยนักวิจัย และผู้ช่วย สอน)
  • 2549 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • CHEG0470 วิทยาศาสตร์โพลิเมอร์เบื้องต้น
  • CHEG0390* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย I
  • CHEG0492* ปฏิบัติการการปฏิบัติการหน่วย II
  • MATS0310 วัสดุวิศวกรรม
  • CHEG07XX วิชาเลือก

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Rubber Technology
  • Biomass and Renewable Energy
  • Materials and Coating

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

เอกสารประกอบการสอน

  1. วิชชุลดา ชัยพร และ ชิดชนน์ สารรักษ์ (2554). การถ่ายเทความร้อน (การปฏิบัติการหน่วย 3). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
คู่มือปฏิบัติการ

  1. นริศรา อินทรจันทร์, วิชชุลดา ชัยพร และ ชิดชนน์ สารรักษ์ (2550). คู่มือปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี สิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
การประชุมวิชาการ

  1. ชิดชนน์ สารรักษ์, มนัญญา ขจรเวคิน, สนิชา ธีรบุญโรจน์, บวรพงศ์ พรชุติ, ชาติชาญ ตรียะเวชกุล, อัศวิน บำเพ็ญ รัตน์, ประวิทย์ สิงห์โตทอง และ สิทธิพงษ์ เพ็งพานิช, “การสังเคราะห์ 5-hydroxymethylfurfural (HMF) จาก กลูโคสโดยใช้ MCM-41 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 22, จังหวัดนครราชสีมา, 25-26 ตุลาคม 2555.
  2. กัลยาณี รุ่งเจริญสมบัติ, วารีรัตน์ ปู่นุช, ชิดชนน์ สารรักษ์, “สารเคลือบหยุดสนิม”, การประชุมวิชาการวิศวกรรม เคมีและเคมีประยุกต์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 21, สงขลา, 10-11 พฤศจิกายน 2554.

สถานที่ติต่อ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 2349
โทรสาร 02-988-3655 ต่อ 2350
Close

Dr.Pravit Singtothong

ดร. ประวิทย์ สิงโตทอง
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาเคมีและบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วท.ด. เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.ม. เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.บ. เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

  • CHEG0225 เคมีวิเคราะห์สำหรับวิศวกรรมเคมี
  • CHEG0290* ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
  • CHEG0291* ปฏิบัติการเคมีฟิสิกัลป์
  • CHEG0292* ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
  • CHEM0110* ปฏิบัติการเคมีทั่วไป
  • CHEM0111* เคมีอินทรีย์
  • CHEM0111 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
  • CHEM0190* ปฏิบัติการเคมี
  • SCIE0101 วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • VMPC0343* ปฏิบัติการชีวเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ผลงานตีพิมพ์

เอกสารประกอบการสอน

  1. ประวิทย์ สิงห์โตทอง (2551). เคมีวิเคราะห์สำหรับวิศวกรรมเคมี. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.
  2. ประวิทย์ สิงห์โตทอง และ สันติ ตั้งประภา (2551). เคมีอินทรีย์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร.
วารสารวิชาการ

  1. Roengsumran, S., Pornpakakul, S., Muangsin, N., Sangvanich, P., Nhujak,T., Singtothong, P., Chaichit, N., Puthong, S., Petsom, A. New Halimane Diterpenoids from Croton oblongifolius. Planta Medica 2004, 70, 80.
  2. Roengsumran, S., Singtothong, P., Pudhom, K., Ngamrochanavanich, N., Petsom, A., Chaichantipyuth, C. Neocrotocembranal from Croton oblongifolius. J. Nat. Prod.1999; 62, 1163.
  3. Roengsumran, S., Achayindee, S., Petsom, A., Pudhom, K.,Singtothong, P., Surachetapan, C., Vilaivan, T. Two New Cembranoids from Croton oblongifolius. J. Nat. Prod. 1998, 61, 652.

สถานที่ติต่อ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 3224
Close

Dr. Prapas Khorphueng

ดร. ประภาส ขอพึ่ง
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาเคมีและบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วท.ด. เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.ม. ปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.บ. เคมี มหาวิทยาลัยรามคำแหง

วิชาที่สอน

  • CHEG0290* ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
  • CHEG0291* ปฏิบัติการเคมีฟิสิกัลป์
  • CHEG0292* ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
  • CHEM0110* ปฏิบัติการเคมีทั่วไป
  • CHEM0111* ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
  • CHEM0120 เคมี 1
  • CHEM0190* ปฏิบัติการเคมี
  • SCIE0101 วิทยาศาสตร์ทั่วไป
  • VMPC0343* ปฏิบัติการชีวเคมี
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ผลงานตีพิมพ์

วารสารวิชาการ

  1. Tummatorn, J.; Khorphueng, P.; Petsom, A.; Muangsin, N.; Roengsumran, S. Convenient synthetic route to dehydrorotenoid via selective intramolecular aldol condensation of 1,2-diaryl diketone. Tetrahedron 2007, 63, 11878-11885.
  2. Khorphueng, P., Tammatorn, J., Petsom, A., Taylor, R. J. K., Roengsumran, S. Total 30 synthesis of 6-deoxyclitoriacetal isolated from Stemona collinsae Craib. Tetrahedron Letters 2006, 47, 5989 - 5991.
  3. Roensumran, S.; Khorphueng, P.; Chaichit, N.; Jaiboon-Muangsin, N.; Petsom, A. Z. Kristallogr. NCS 2003, 105-106.

สถานที่ติต่อ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 3224
Close

Dr.Damrong Sommit

ดร. ดำรงค์ สมมิตร
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำภาควิชาเคมีและบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

การศึกษา

  • วท.ด. เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.ม. เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วท.บ. เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิชาที่สอน

  • CHEM0120 เคมีทั่วไป
  • CHEM0190 ปฏิบัติการเคมี
  • CHEG0290 ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์
  • CHEG0291 ปฏิบัติการเคมีฟิสิกัล
  • CHEG0292 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
  • CHEG07XX วิชาเลือก

ผลงานตีพิมพ์

คู่มือปฏิบัติการ

  1. ดำรงค์ สมมิตร และ สันติ ตั้งประภา (2552). ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.
  2. ดำรงค์ สมมิตร และ สันติ ตั้งประภา (2552). ปฏิบัติการเคมีฟิสิกัล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร.
วารสารวิชาการ

  1. Yibchok-anun, S.; Jittaprasatsin, W.; Sommit, D.; Bunlunara, W.;Adisakwattana. Insulin secreting and Alpha- glucosidase inhibitory activity of Coscinium fenestratum and postprandial hyperglycemia in normal and diabitec rats, Journal of Medicinal Plants Research 2009, 3, 646-651.
  2. Sappapan, R.; Sommit, D.; Ngamrojanavanich, N.; Pengpreecha, S.; Wiyakrutta, S.; Sriubolmas, N.;Pudhom, K. 11- Hydroxymonocerin from the Plant Endophytic Fungus Exserhilum rostratum J. Nat. Prod. 2008, 71, 1657 - 1659.
  3. Pudhom, K.; Sommit, D.; Suwankitti, N.; Petsom, A. Cassane Furanoditerpenoids from the Seed Kernels of Caesalpinia bonduc from Thailand , J. Nat. Prod. 2007, 70, 1542-1544.
  4. Pudhom, K.; Vilaivan, T.; Ngamrojanavanich, N.; Dechangvipart, S.; Sommit, D.; Petsom, A.; Roengsumran, S. Furanocembranoids from the Stem Bark of Croton oblongifolius J. Nat. Prod. 2007, 70, 659-661.
  5. Sommit, D.; Petsom, A.; Ishikawa, T.; Roengsumran, S. Cytotoxic Activity of Natural Labdanes and their Semi-Synthetic Modified Derivatives from Croton oblongifolius Planta Medica 2003, 69, 167
  6. Roegsumran, S.; Jaiboon, N.; Chaichit, N.; Sommit, D.; Pattamadilok, D.; Chaichantipyuth, C.; Petsom, A. Hydrogen bonding in labdane diterpenoids, labda-7,12(E),14-triene-17-oic acid and labda-12(Z),14,17-triene-18-oic acid Journal of Chemistry Crystallography 2002, 32, 511.
  7. Roengsumran, S.; Petsom, A.; Sommit, D.; Vilaivan, T. Labdane diterpenoids from Croton oblongifolius Phytochemistry 1999, 50, 449.

สถานที่ติต่อ

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก 10530
โทรศัพท์ 02-988-3655 ต่อ 3224
Close