คณาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

Asst.Prof.Dr.Panavy Pookaiyaudom

ผศ. ดร.ภานวีย์ โภไคยอุดม
ตำแหน่ง: รองอธิการบดี ฝ่ายนโยบายและแผน และผู้อำนวยการสำนัก ประชาสัมพันธ์และบริการวิชาการ,
ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรรมเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์, ผู้อำนวยการศูนย์อิเล็กทรอนิกส์ชีวภาพ

Education

  • ปริญญาเอก : Ph.D. (Analogue Integrated Circuit Design) Imperial College of Science, Technology and Medicine
  • ปริญญาตรี : B.Sc. Electronics System Design Oxford Brookes University

Experiences

  • 2011-Present: Assistant President, Development planning and public relations, Mahanakorn University of Technology
  • 2011-PresenExperiencest: Director, Office of public relation and academic services, Mahanakorn University of Technology
  • 2012-Present: Director, Centre for Bioelectronics Integrated System (CBIT), Mahanakorn University of Technology
  • 2012-Present: Director, Applied Innovation Centre (AiCentre), Mahanakorn University of Technology
  • 2011-2012: Assistant Dean, Faculty of Engineering, MahanakornUniveristy of Technology
  • 2008-2010: Technical Support Officer, Health Sciences&Practice, King’s College, London
  • 2010-2011: Researcher, Centre for Bio-Inspired Technology, Imperial College, London
  • 2007-2010: Researcher, Institute of Biomedical Engineering, Imperial College, London
  • 2006-Present: Full time lecturer at electronic department, Mahanakorn University of Technology

Publications

  1. P. Pookaiyaudom, et al., “A Generalized Floating-Gate Integrator for Sampled-Data Filtering Applications,” EECON35, 2012.
  2. P. Pookaiyaudom, et al., “Towards an On-Chip Antenna Battery-less Glucose Monitor System in Standard CMOS,” EECON35, 2012.
  3. P. Pookaiyaudom, et al., “Measurement of Cell and Bacterial Activity Using Array-Based ISFET Chemical Current-Conveyor in Weak-Inversion,” in Proc. IEEE 2012 International Symposium on Circuits and Systems, 2012.
  4. P. Pookaiyaudom, et al., “Measurement of urea, creatinine and urea to creatinine ratio using enzyme based chemical current conveyor (CCCII+),” Sensors and Actuators B: Chemical, vol. 153, pp. 453-459, 2011.
  5. S. Thanapitak, P. Pookaiyaudom, P. Seelanan, F. J. Lidgey, K. Hayatleh and C. Toumazou., “Verification of ISFET response time for millisecond range ion stimulus using electronic technique,” Electronics Letters, vol. 47, pp. 586-588, 2011.
  6. P. Pookaiyaudom, et al., “Chemical current conveyor (CCCII+): System design and verification for buffer index/capacity measurement,” Sensors and Actuators B: Chemical, vol. 147, pp. 228-233, 2010.
  7. P. Pookaiyaudom, C. Toumazou, and F.J. Lidgey, “Measurement of buffer index using the Chemical Current Conveyor (CCCII+),” in Analog Signal Processing 2008: Oxford Brookes University. pp. 15.1-15.6.
  8. P. Pookaiyaudom, et al., “The chemical current-conveyor: a new microchip biosensor,” in Proc. IEEE 2008 International Symposium on,Circuits and Systems, 2008, pp. 3166-3169.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรสาร : -
e-mail : panavy@mut.ac.th
Close

Dr. Songsak Chusanapiputt

ดร. ทรงศักดิ์ ชุษณพิพัฒน์
ตำแหน่ง: อาจารย์

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • วศ.ด. วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การทำงาน

  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EEPW0726 Analysis of Faulted Power Systems
  • EECC0710 Methods of Applied Mathematics I
  • EECC0903 Basic Applied Mathematics
  • EECC0904 Advanced Applied Mathematics

ทุนวิจัย

  • Increasing of Dynamic Thermal Rating of Transmission Line, ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้าน เทคโนโลยีไฟฟ้ากำลัง, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การจำลองแบบระบบไฟฟ้ากำลัง
  • การวิเคราะห์ทรานเซียน์แม่เหล็กไฟฟ้าในระบบไฟฟ้ากำลัง

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. The Studies of Transmission System Interconnection Between PR China and Thailand The Fourth International Conference on Power System Technology (PowerCon 2000)
  2. An Embedded Piecewise Method in Equivalent Networks for Fast Decoupled Load Flow The Fourth International Conference on Power System Technology (PowerCon 2000)
  3. Multi-Machine Adaptive Power System Stabilizer via Radial Basis Function Network Engineering Transactions: A research publication of Mahanakorn University of Technology, January-June 2002.
  4. An Application of Energy Function for Calculation of Critical Fault Clearing Time The Fifth International Conference on Power System Technology (PowerCon 2002)
  5. Hybrid RBF Neural Network Adaptive Optimal Power System Stabilizer with Tabu Search The Fifth International Conference on Power System Technology (PowerCon 2002)
  6. Identification of Induction Motor Parameter Using Tabu Search Engineering Transactions: A research publication of Mahanakorn University of Technology, July-December 2002.
  7. Hybridization of Tabu Search and RBF Neural Network for Adaptive Optimal Power System Stabilizers in Multi-Machine Power System EECON 25th / 2002
  8. Parameter Tuning of the Conventional Power System Stabilizer By Artificial Neural Network 2004 International Conference on Power System Technology (PowerCon 2004)
  9. An Application of Fourier Transform in Transient Stability Analysis 2004 International Conference on Power System Technology (PowerCon 2004)
  10. An Application of Energy Function with Nonlinear Load Models for Calculation of Critical Fault Clearing Time 2004 International Conference on Power System Technology (PowerCon 2004)
  11. 1A Temperature Calculation and Prediction of A Three-Phase Induction Motor with Non sinusoidal Voltage Supply 2004 International Conference on Power System Technology (PowerCon 2004) 2
  12. Diversity Control Approach to Ant Colony Optimization for Unit Commitment Problem IEEE TENCON 2004
  13. Reactive Tabu Search for Optimal Power Flow Under Constrained Emission Dispatch IEEE TENCON 2004
  14. Minimization of Transmission Loss with Consideration of Transformer Taps Constraint IEEE TENCON 2005
  15. Generation Expansion Planning Including Biomass Energy Sources with Global Environmental Consideration Using Improved Tabu Search IEEE TENCON 2005
  16. Relative Velocity Updating in Parallel Particle Swarm Optimization Based Lagrangian Relaxation for Large-scale Unit Commitment Problem IEEE TENCON 2005
  17. Design and Implementation of Surge Protection Device for Communication Equipment in PEA Substation ECTI-CON 2006
  18. Selective Self-Adaptive Approach to Ant System for Solving Unit Commitment Problem GECCO-2006
  19. Increasing of Dynamic Thermal Rating of Transmission Line 2006 International Conference on Power System Technology
  20. Relativity Pheromone Updating Strategy in Ant Colony Optimization for Constrained Unit Commitment Problem 2006 International Conference on Power System Technology
  21. Influence of Ground Potential Rise on Recloser Control Broad in Distribution Lines 2006 International Conference on Power System Technology
  22. The Line P-Q Curve for Steady-State Voltage Stability Analysis 2006 International Conference on Power System Technology 3
  23. Optimal SVC and TCSC Placement for Minimization of Transmission Losses 2006 International Conference on Power System Technology
  24. A Study of Series Capacitor Effects on Total Transfer Capability of the Central-to-Southern Thailand Transmission System 2006 International Conference on Power System Technology
  25. Improvement of Standard Suspension Type Insulator by The Semiconducting glaze for Pollution condition The 8th International Power Engineering Conference – IPEC2007
  26. Unit Commitment by Selective Self-Adaptive ACO with Relativity Pheromone Updating Approach The 8th International Power Engineering Conference – IPEC2007
  27. Unit Commitment by Hybrid Ant System/Priority List Method based Probabilistic Approach IEEJ Transactions on Power and Energy, Vol. 128 No.7 2008
  28. A Solution to Unit Commitment Problem Using Hybrid Ant System/ Priority List Method IEEE International Conference on Power and Energy (PECon), 2008
  29. Hybrid Ant System Priority List Method for Unit Commitment Problem with Operating Constraints 2009 IEEE International Conference on Industrial Technology, Monash University, Clayton Campus, Melbourne, IEEE-ICIT, 2009
  30. Effects of Series Compensation in Long Transmission Line on Distance Relay Operation EECON 32nd / 2009
  31. Electricity Generation Scheduling by Hybrid Ant System Algorithm with Priority List Method EECON 32nd / 2009
  32. New Swing-blocking Methods for Digital Distance Protection Using Support Vector Machine 2010 International Conference on Power System Technology
  33. A Solution to the Optimal Power Flow using Artificial Bee Colony ABC Algorithm 2010 International Conference on Power System Technology

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55
โทรสาร : 662-988-4040
e-mail : songsak@mut.ac.th
Close

Dr.Nalin Sidahao

ดร. นลิน สีดาห้าว
ตำแหน่ง: ผู้อำนวยการศูนย์ออกแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์และประมวลสัญญาณ

การศึกษา

  • วศ.บ. (อิเล็กทรอนิกส์) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • M.Sc (Analogue and Digital IC Design) Imperial College of Science, Technology and Medicine
  • Ph.D. Imperial College of Science, Technology and Medicine

การทำงาน

อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มงานการออกแบบวงจรดิจิตอลและระบบดิจิตอล

วิชาที่สอน

  • EEET0773 - Advanced Digital Arithmetic Algorithms and Hardware Designs
  • EEEB0720 - FPGA-Based System Design
  • EEEB0730 - Embedded Systems on FPGAs
  • EEEB0735 - Operating Systems for Embedded Systems
  • EEEB0745 - Programming for Embedded Systems
  • EEEB0751 - Selected Topics in Embedded Systems I : Embedded Technology

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Field Programmable Gate Arrays (FPGAs)
  • Reconfigurable Computing
  • Embedded Systems
  • Digital CAD tools for digital design automation
  • Synthesis and optimization of digital circuits
  • Mathematical programming and modeling
  • Mobile Application Development (Android Platform)

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. Performance Evaluation of an Extended Ant Colony Optimization Algorithm Applied to Path Minimization in PCB Holes Drilling Process Narasak Wongwas, Nalin Sidahao. EECON36 2013
  2. RF Power Meter Based On Log Amplifier-Detector Sensor Sawat Bunnjaweht, Nalin Sidahao. ECTI-CARD 2013
  3. Extension of MAX-MIN Ant System with Narrowed Bound for Drilling Path Optimization Narasak Wongwas, Nalin Sidahao. ECTI-CARD 2013
  4. A Technique of Improving Ant Colony Algorithm for Drilling Path Optimization Narasak Wongwas, Nalin Sidahao. ECTI-CARD 2012
  5. Car Performance Monitoring System through Wireless Network Koon Bhudrach, Nalin Sidahao, Apichan Kanjanavapasatit. ECTI-CARD 2012
  6. A Methodology of Extending The Measurement Range of A Non-linear Multimode Distance Sensor by Using A Parallel Particle Filter Implemented on A Multi-core Processors Platform Prakasit Udomthanatheera, Nalin Sidahao, Peerapol Yuvapoositanon. EECON35 2012
  7. Parallel Processing on Multi-Core Processors for Particle Filter Prakasit Udomthanatheera, Nalin Sidahao, Peerapol Yuvapoositanon. EECON34 2011
  8. RSA Encryption/Decryption Algorithm Implementation to Improve Security of a Prototype Wireless Network in Soldier Patrols Tawat Muanrat, Apichan Kanjanavapastit, Nalin Sidahao. EECON33 2010
  9. A Technique of Continuous Heading and Distance Estimation using Particle Filtering Algorithm for Mobile Object Tracking Applications Chalum Choomsri, Nalin Sidahao, Peerapol Yuvapoositanon. EECON33 2010
  10. A Prototype of an Embedded System for Soldier Patrol (Best paper award) Tawat Muanrat, Apichan Kanjanavapastit, Nalin Sidahao. ECTI-CARD 2010
  11. Low-Area FPGA-Implementation of SIN/COS Wave Generator Based on PicoBlaze Application Chalum Choomsri, Nalin Sidahao. ECTI-CARD 2010
  12. A Low-Cost Hardware Implementation of Particle Filter for Continuous Heading Estimation with a Digital Compass Chalum Choomsri, Nalin Sidahao, Peerapol Yuvapoositanon ECTI-CARD 2010
  13. A Low-Cost Real-time System Design for Particle Filter Algorithm Tawat Muanrat, Nalin Sidahao, Peerapol Yuvapoositanon. EECON32 2009
  14. Power and Area Optimization for Multiple Restricted Multiplication Nalin Sidahao, George A. Constantinides, Peter Y. K. Cheung. FPL 2005
  15. A Heuristic Approach for Multiple Restricted Multiplication Nalin Sidahao, George A. Constantinides, Peter Y. K. Cheung. ISCAS 2005
  16. Word-Length Optimization of Folded Polynomial Evaluation George A. Constantinides, Abunaser Miah, Nalin Sidahao. FCCM 2004
  17. Optimized Field Programmable Gate Array Based Function Evaluation Nalin Sidahao. FPL 2004
  18. Multiple Restricted Multiplication Nalin Sidahao, George A. Constantinides, Peter Y. K. Cheung. FPL 2004
  19. Architectures for function evaluation on FPGAs Nalin Sidahao, George A. Constantinides, Peter Y. K. Cheung. ISCAS 2003
  20. An Error Analysis and Implementation of IIR Digital Sinusoidal Oscillators Pornchai Pawawongsak, Nalin Sidahao. EECON21 1998

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 1128
โทรสาร : -
e-mail : nalin@mut.ac.th, sidahao@gmail.com (prefer)
homepage : www.ee.mut.ac.th, www.cesdsp.mut.ac.th
Close

Dr. Budhapon Sawetsakulanond

ดร. พุทธพร เศวตสกุลานนท์
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำ

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • บริษัทเอ็นโนไทยจำกัด
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EEPW 0750 Selected Topics in Electrical Power Engineering I
  • EEPW 0752 Selected Topics in Electrical Power Engineering II
  • EEPW 0850 Selected Topics in Electrical Power Engineering I
  • EEPW 0852 Selected Topics in Electrical Power Engineering I

รางวัลเกียรติยศ

  1. โปสเตอร์ยอดเยี่ยม ในงานการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  1. Electrical Machines and Drive
  2. Energy conservation

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการในประเทศ

  1. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และพิชิต ลำยอง, “ผลของอุณหภูมิที่มีต่อกำลังไฟฟ้าสูญเสียในวงจรแม่เหล็ก” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 21 (EECON-21), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 12-13 พฤศจิกายน 2541, หน้า 469-472.
  2. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และพิชิต ลำยอง, “การแปลงไฟฟ้ากระแสสลับสามเฟสเป็นไฟฟ้ากระแสสลับหนึ่งเฟส โดยหม้อแปลงไฟฟ้า” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 22 (EECON-22), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2-3 ธันวาคม 2542, หน้า 597-600.
  3. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และเปรมศักดิ์ ปรีชา, “อุปกรณ์ป้องกันฟอลต์สำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 23 (EECON-23),มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 23-24 พฤศจิกายน 2543, หน้า 237-240.
  4. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และเปรมศักดิ์ ปรีชา, “การสตาร์ทมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสภายใต้เงื่อนไขการเกิด ฟอลต์หนึ่งเฟส” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 24(EECON-24),สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง, 22-23 พฤศจิกายน 2544, หน้า 211-216.
  5. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “บัลลาสต์กำลังไฟฟ้าสูญเสียต่ำสำหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 36 วัตต์” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 25 (EECON-25),มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 21-22 พฤศจิกายน 2545, หน้า 51-55.
  6. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “การวิเคราะห์ขนาดตัวเก็บประจุสำหรับอินดักชั่นเจนเนเรเตอร์แบบกระตุ้นภายใน ตัวเอง” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 25 (EECON-25),มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 21-22 พฤศจิกายน 2545, หน้า 56-60.
  7. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “อุปกรณ์รักษาระดับแรงดันไฟฟ้าสำหรับอินดักชั่นเจนเนเรเตอร์แบบกระตุ้นภายใน ตัวเอง” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ, 6-7 พฤศจิกายน 2546, หน้า 29-34.
  8. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “การวิเคราะห์ขนาดตัวเก็บประจุอย่างง่ายสำหรับอินดักชั่นเจนเนเรเตอร์แบบ กระตุ้นภายในตัวเอง” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26), สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ, 6-7 พฤศจิกายน 2546, หน้า 35-38.
  9. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และรุ่งโรจน์ สุริโยภาสุไร “อุปกรณ์ประหยัดพลังงานสำหรับระบบแสงสว่าง” การประชุม วิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 26 (EECON-26), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 6-7 พฤศจิกายน 2546, หน้า 210-215.
  10. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “การวิเคราะห์และพิจารณาเลือกขนาดตัวเก็บประจุสำหรับอินดักชั่นเจนเนเรเตอร์ แบบกระตุ้นภายในตัวเอง ตอนที่ 1 : ภาระแบบความต้านทาน” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 27 (EECON-27), มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11-12 พฤศจิกายน 2547, หน้า 13-16.
  11. พุทธพร เศวตสกุลานนท์ “การวิเคราะห์และพิจารณาเลือกขนาดตัวเก็บประจุสำหรับอินดักชั่นเจนเนเรเตอร์ แบบกระตุ้นภายในตัวเอง ตอนที่ 2 : ภาระแบบความต้านทาน-ความเหนี่ยวนำ” การประชุมวิชาการทาง วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 27 (EECON-27), มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11-12 พฤศจิกายน 2547,หน้า 25-28.
  12. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และรุ่งโรจน์ สุริโยภาสุไร “การทำนายขนาดตัวเก็บประจุสำหรับแรงดันไฟฟ้าของอิน ดักชั่นเจนเนเรเตอร์โดยใช้เครือข่ายประสาท” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 27 (EECON-27), มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11-12 พฤศจิกายน 2547, หน้า 33-36.
  13. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และรุ่งโรจน์ สุริโยภาสุไร “บัลลาสต์กำลังไฟฟ้าสูญเสียต่ำสำหรับหลอดแสงจันทร์ ขนาด 125 วัตต์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 27 (EECON-27),มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11-12 พฤศจิกายน 2547, หน้า 257-260.
  14. รุ่งโรจน์ สุริโยภาสุไรและพุทธพร เศวตสกุลานนท์ “การเปรียบเทียบการใช้พลังงานไฟฟ้าของระบบแสงสว่าง ปกติกับระบบแสงสว่างที่อาศัยแสงจากธรรมชาติ” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 11-13 พฤษภาคม 2548, หน้า ECB03-1 - ECB03-6.
  15. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และรุ่งโรจน์ สุริโยภาสุไร “การออกแบบและสร้างบัลลาสต์กำลังไฟฟ้าสูญเสียต่ำ สำหรับหลอดแสงจันทร์ขนาด 80 วัตต์” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 11-13 พฤษภาคม 2548, หน้าECB04-1 - ECB04-5.
  16. พุทธพร เศวตสกุลานนท์, “การออกแบบและสร้างบัลลาสต์กำลังไฟฟ้าสูญเสียต่ำสำหรับหลอดฟลูออเรส เซนต์ขนาด 18 วัตต์” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี, 11-13 พฤษภาคม 2548, หน้า ECB05-1 - ECB05-5.
  17. พุทธพร เศวตสกุลานนท์, “วิธีการควบคุมการไหลของกำลังไฟฟ้าที่เหมาะสมสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เหนี่ยวนำแบบที่มีการต่อเชื่อมกับระบบไฟฟ้ากำลังภายใต้สภาวะสลิปเกินพิกัด” , การประชุมวิชาการ วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549,หน้า 129-132.
  18. พุทธพร เศวตสกุลานนท์, “การวิเคราะห์และศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมระหว่างเครื่องจักรกลไฟฟ้า เหนี่ยวนำแบบมาตรฐานและเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบประสิทธิภาพสูงขณะทำงานเป็นเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 29,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549,หน้า 125-128.
  19. พุทธพร เศวตสกุลานนท์, “การวิเคราะห์ขนาดตัวเก็บประจุสำหรับระบบกักเก็บพลังงานโดยใช้เครื่องกำเนิด ไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 29, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549,หน้า 133-136.
  20. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การวิเคราะห์และศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะระหว่าง เครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบมาตรฐานและเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบประสิทธิภาพสูงขณะ ทำงานเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบกระตุ้นภายในตัวเองที่ป้อนให้กับระบบกักเก็บพลังงาน”, การ ประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 30, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี , 2549,หน้า 129.
  21. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การวิเคราะห์และศึกษาเปรียบเทียบผลกระทบของการทำสกิ วอิ้งที่มีต่อการสร้างแรงดันไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”,การประชุม วิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 30, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี , 2549,หน้า 129.
  22. พุทธพร เศวตสกุลานนท์, “การวิเคราะห์และศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมระหว่างเครื่องจักรกลไฟฟ้า เหนี่ยวนำแบบมาตรฐานและเครื่องจักรกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบประสิทธิภาพสูงขณะทำงานเป็นเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบมีการเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้ากำลัง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 30, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี , 2549,หน้า 129.
  23. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และจักราวุธ เดชวิเศษ, “โคมไฟถนนอัตโนมัติพลังงานแสงอาทิตย์”, การประชุม วิชาการด้านพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ ครั้งที่ 1, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี , 2550,หน้า 1-8.
  24. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Comparative Performance Evaluation of Skew Effect on the Performance of Self-Excited Induction Generators”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 31, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2551,หน้า 85-88.
  25. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Terminal Voltage Regulation by Static Var Compensator for a Three-Phase Self-Excited Induction generator”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 31, มหาวิทยาลัยศรี ปทุม, 2551,หน้า 89-92.
  26. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Investigation of Skew Effect on the Power Quality of Grid Connected Induction Generators”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 31, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2551, หน้า 185-188.
  27. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “ การปรับปรุงปริมาณฮาร์มอนิกของแรงดันไฟฟ้าที่ขั้วสำหรับ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบกระตุ้นภายในตัวเองที่ประยุกต์ใช้งานกับระบบกักเก็บพลังงาน”, การประชุม วิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 32, มหาวิทยาลัยมหิดล , 2552, หน้า 144-148.
  28. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนความผิดเพี้ยนของแรงดันไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า สูญเสียของการรักษาระดับแรงดันไฟฟ้าที่ขั้วโดยใช้ตัวชดเชยวาร์แบบสแตติกสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 32, มหาวิทยาลัยมหิดล , 2552, หน้า 153-156.
  29. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนและวิเคราะห์ผลกระทบของการทำสกิวอิ้งที่มีต่อค่า ความสูญเสียในแกนเหล็กของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”, การประชุม วิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553, หน้า 97-100.
  30. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนอัตราส่วนแอสแปคที่มีต่อการสร้างแรงดันไฟฟ้าและ คุณภาพไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”,การประชุมวิชาการ วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553, หน้า 113-116.
  31. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การชดเชยกำลังไฟฟ้าเสมือนสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เหนี่ยวนำแบบที่มีการเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้ากำลังภายใต้สภาวะเงื่อนไขความเร็วลมต่ำโดยใช้ระบบชดเชย กำลังไฟฟ้าเสมือนแบบสแตติก”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553, หน้า 149-152.
  32. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Design and Construction of a Small Scale Self-Excited Induction Generator for a Wind Energy Application”,การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 33, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553, หน้า 109-112.
  33. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การวิเคราะห์ขนาดตัวเก็บประจุสำหรับสร้างแรงดันไฟฟ้าและ รักษาระดับแรงดันไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง” การประชุม วิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5 พฤษภาคม 2554, หน้า 122-127.
  34. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การออกแบบและสร้างเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟส แบบกระตุ้นภายในตัวเองขนาด 0.75 กิโลวัตต์สำหรับประยุกต์ใช้งานกับพลังงานลม” การประชุมวิชาการ เครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5 พฤษภาคม 2554, หน้า 425-430.
  35. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “เครื่องตัดหญ้าไฟฟ้า” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5 พฤษภาคม 2554, หน้า683-687.
  36. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนผลกระทบของการทำสกิวอิ้งที่มีต่อค่าความสูญเสีย ของแกนเหล็ก คุณภาพไฟฟ้าและสมรรถนะของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายใน ตัวเอง” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5 พฤษภาคม 2554, หน้า 1089-1094.
  37. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนค่าความสูญเสีย คุณภาพไฟฟ้าและสมรรถนะ ระหว่างมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ สามเฟสแบบมาตรฐานและมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ สามเฟสแบบ ประสิทธิภาพสูงเมื่อทำงานเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”การประชุม วิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5 พฤษภาคม 2554, หน้า 1095-1100.
  38. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “วิธีการพิจารณาขนาดตัวเก็บประจุอย่างง่ายสำหรับสร้าง แรงดันไฟฟ้าของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำหนึ่งเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง” การประชุมวิชาการเครือข่าย พลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3-5พฤษภาคม 2554, หน้า 1101-1105.
  39. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสำหรับทดสอบมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ และเครื่องกำเนิดไฟฟ้าตามมาตรฐาน IEEE 112-2004”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34, มหาวิทยาลัยสยาม, 2554, หน้า 129-132.
  40. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนอัตราส่วนแอสแปคที่มีต่อสมรรถนะของเครื่อง กำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบกระตุ้นภายในตัวเอง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34, มหาวิทยาลัยสยาม, 2554, หน้า 145-148.
  41. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การสืบสวนกระแสฮาร์มอนิกของระบบไฟฟ้ากำลังเมื่อใช้ตัว ชดเชยกำลังไฟฟ้าเสมือนแบบสแตติกสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเหนี่ยวนำแบบที่มีการเชื่อมต่อกับระบบ ไฟฟ้ากำลังภายใต้สภาวะเงื่อนไขความเร็วลมต่ำ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34, มหาวิทยาลัย สยาม, 2554, หน้า 233-236.
  42. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การปรับปรุงปริมาณกระแสฮาร์มอนิกด้านเข้าของระบบ ขับเคลื่อนมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำสามเฟสแบบพีดับบิวเอ็ม”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34, มหาวิทยาลัยสยาม, 2554, หน้า 249-252.
  43. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “เครื่องตัดหญ้าไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์” การประชุมวิชาการ เครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2-4พฤษภาคม 2555, หน้า 7.
  44. พุทธพร เศวตสกุลานนท์และวิจิตร กิณเรศ, “การออกแบบและสร้างแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสำหรับทดสอบ มอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำตามมตรฐาน IEEE 112-2004 ” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้ง ที่ 8, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2-4พฤษภาคม 2555, หน้า 66.
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

  1. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares. “A simple Approach to Capacitance Determination of Self-Exited Induction Generators for Terminal Voltage Regulation.” Proc. IEEE-PEDS’2007, Bangkok, Thailand, November. 2007. pp.1319-1324
  2. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares. “Analysis and Comparative Study on the Performance between Standard and High Efficiency Induction Machines operating as Self -Excited Induction Generators.” Proc. IEEE-PEDS’2007, Bangkok, Thailand, November. 2007. pp.1313-1318
  3. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares. “Investigation of Skew Effect on the Performance of Self-Excited Induction Generators.” Proc. IEEE-PEDS’2007, Bangkok, Thailand, November.2007. pp.1367-1373
  4. B. Sawetsakulanond, P. Hothongkham and V. Kinnares. “Design and Construction of a Three Phase Self-Excited Induction Generator.” Proc. IEEE-ICSET’2008, Singapore, November. 2008.pp.1373-1378
  5. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares. “Investigation on the Behavior and Harmonic Voltage Distortion of Terminal Voltage Regulation by Static Var Compensators for a Three Phase Self-Exited Induction Generator.” Proc. IEEE-ICSET’2008, Singapore, November. 2008. pp.546-551
  6. B. Sawetsakulanond, P. Hothongkham and V. Kinnares. “Investigation on the Performance between Standard and High Efficiency Induction Machines operating as Grid Connected Induction Generators.” Proc. IEEE-ICSET’2008, Singapore, November. 2008. pp.949-954
  7. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Investigation on the Performance between Standard and High Efficiency Induction Machines operating as Self-Excited Induction Generators feeding the non-linear loads” Proc. IEEE-ICSET’2008, Singapore, November. 2008. pp.955-960
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ

  1. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Design, analysis and construction of a small scale self excited induction generator for a Wind Application,” The International journal on Elsevier, Energy, Vol. 35, pp.4975-4985, 2010.
  2. B. Sawetsakulanond and V. Kinnares, “Analysis and Investigation of Skew Effect on Behavior and Performance of a Small Scale Three-Phase Self-Excited Induction Generator,” IEEJ Transaction on Industry Applications, in press, 2011.

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 3302
โทรสาร : 02-9884040
e-mail : drloy2012@hotmail.com
Close

Dr. Wuthiporn loetwassana

ดร. วุฒิพร เลิศวาสนา
ตำแหน่ง: อาจารย์

การศึกษา

  • อส.บ เทคโนโลยีโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ม วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม

วิชาที่สอน

  • EECM0777 Advanced adaptive signal processing
  • EECM0776/EECM0870 Satellite communications

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  1. Adaptive signal processing
  2. Digital signal processing for telecommunications

ผลงานตีพิมพ์

  1. W. Loetwassana, R. Punchalard and W. Silahpan, “Adaptive Howling Canceller using Adaptive IIR Notch Filter: Simulation and Implementation,” IEEE Int. Conf. Neural Networks & Signal Processing, 2003, pp. 848-851.
  2. W. Loetwassana, R. Punchalard, J. Koseeyaporn and P. Wardkein, “A Modification of Momentum LMS with Variable Momentum Factor,” IEEE ISCIT, 2006, pp. W2A-3- W2A-6.
  3. W. Loetwassana, R. Punchalard, J. Koseeyaporn and P. Wardkein, “Adaptive Howling Suppressor in an Audio Amplifier System,” IEEE APCC, 2007, pp. 445-448.
  4. W. Loetwassana, R. Punchalard, J. Koseeyaporn and P. Wardkein, “Unbiased Plain Gradient Algorithm for a Second-order Adaptive IIR Notch Filter with Constrained Poles and Zeros,” Signal Processing, 2010, pp. 2513-2520.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 2342
โทรสาร : 662-9884040
e-mail : wuthipor@mut.ac.th
Close

Dr. Sommart Sang-ngern

ดร.สมมาตร แสงเงิน
ตำแหน่ง: ผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

การศึกษา

  • ปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

การทำงาน

  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • หัวหน้าห้องวิจัยระบบสื่อสารเชิงแสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • ผู้อำนวยการบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EECM0721 – Optical Fiber Communications
  • EECM0821 – Optical Fiber Communications

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • FTTx Technology
  • Fiber Ring Resonator
  • DWDM Components
  • Fiber Optic Technology
  • Optical Test and Measurement

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Electronic Feedback System for Stabilization of Fiber Ring Resonator,” ETRI Journal, vol.32, no.1, Feb. 2010.
  2. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Analysis of Tilted Grating Etalon for DWDM Demultiplexer,” ECTI Transactions (ECTI-EEC), vol.3, no.1, Feb. 2005.
  3. Sommart Sang-Ngern and Araya Chaisongkram, “Power coupling ration on transmission of DWDM demultiplexer using compound ring resonator with fiber bragg grating and optical amplifier,” EECON-34, pp.1125-1128, 2554.
  4. สมมาตร แสงเงิน และ ทวิกา ตั้งประภา,“การเสริมสร้างทักษะเชิงปฏิบัติการในวิชาทางด้าน ระบบสื่อสารเชิงแสง,” การประชุมวิชาการวิศวศึกษาครั้งที่ 9 (INCEE9), หน้า 149-153, 2554.
  5. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร,“ภาพรวมงานวิจัยเรโซเนเตอร์วงแหวนเส้นใยนำแสงและการ ประยุกต์ใช้งาน,” การประชุมวิชาการทางออปติกส์และการประยุกต์ใช้งานแห่งชาติครั้งที่ 6 (NCOA- 6), หน้า 48-53, 2554.
  6. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Effect of PZT structure and fiber wrapped on stabilization of fiber ring resonator output light,” NCOA-4, 2009.
  7. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Effect of finesse on stabilization of fiber ring resonator output light,” EECON-32, pp. 1159-1162, 2009.
  8. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การออกแบบวงจรป้อนกลับอย่างง่ายสำหรับควบคุม เสถียรภาพสัญญาณเอาต์พุตของเรโซเนเตอร์วงแหวน,” EECON-31, หน้า 1193-1196, 2551.
  9. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Analysis of Simple Feedback Circuit for Stabilization of Fiber Ring Resonator,” NCOA-3, pp.58-61, 2008.
  10. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงดันที่ป้อน ให้กับพิโซอิเล็กตริกทรานส์ดิวเซอร์กับสัญญาณเอาต์พุตของเรโซเนเตอร์วงแหวนเส้นใยนำแสง,” EECON-30, หน้า 588-591, 2550.
  11. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Electronic Feedback Circuit for Stabilization of Fiber Ring Resonator Output Light,” IEEE-TENCON 2007, WeOE-O2.1, 2007.
  12. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Optical Demultiplexer Using Compound Ring Resonator with Fiber Bragg Grating: Analysis and Improvement,” IEEE-ISCIT 2006, T4F-2, 2006.
  13. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “DWDM Demultiplexer Using Compound Ring Resonator with Fiber Bragg Grating,” IEEE-APPCAS 2006, pp.1909-1912, 2006.
  14. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Power Coupling Ratio and Optical Length on Transmission of Demultiplexer using Compound Optical Ring Resonator with FBG ,” EECON-29, pp.893-896, 2549.
  15. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “ตัวกรองแสงชนิดเอ็ดตาลอนที่มีโครงสร้างเกรตติ้งเอียง สำหรับระบบมัลติเพลกซ์เชิงแสง,” EECON-28, หน้า 809-812, 2548.
  16. Sommart Sang-Ngern and Athikom Roeksabutr, “Tilted Grating Etalon (TGE) For DWDM Demultiplexer,” ECTI-CON 2004, pp. 262-265, 2004.
  17. สมมาตร แสงเงิน ราชู พันธ์ฉลาด วุฒิพร เลิศวาสนา และ อธิคม ฤกษบุตร , “การปรับลดผลการไขว้ แทรกของสัญญาณแอนะลอกในระบบการมัลติเพลกซ์ทางแสง (WDM),” EECON-26, หน้า 1593- 1598, 2546.
  18. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การวิเคราะห์ผลการไขว้แทรกของพัลส์แสงภายในเส้นใย แก้วชนิดคอร์คู่แฝดสำหรับระบบ CWDM,” EECON-25, หน้า 45-49, 2545.
  19. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การศึกษาผลกระทบของอินเตอร์โมดอลดิสเพอร์ชั่นต่อค่า แบนด์วิดท์ของออปติคอลคับเปลอร์เส้นใยแก้ว,” EECON-24, หน้า 816-821, 2544.
  20. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การวิเคราะห์การคงสภาพคุณสมบัติความเป็นโซลิตอน เชิร์ปพัลส์ภายในเส้นใยแก้วนำแสงที่มีค่าการสูญเสียด้วยวิธี Beam Propagation Method (BPM),” EECON-23, หน้า 397-400, 2543.
  21. สมมาตร แสงเงิน และ อธิคม ฤกษบุตร , “การศึกษาออปติคอลคับเปลอร์เส้นใยแก้วด้วยวิธี BPM,” EECON-22, หน้า 461-464, 2542.
  22. สมมาตร แสงเงิน “พื้นฐานระบบสื่อสารด้วยเส้นใยนำแสง (Fiber Optic Communication System), ” บทที่ ๔๖ หมวด ค-๒ การสื่อสารทางแสง, สารานุกรมโทรคมนาคมไทย ฉบับพุทธศักราช ๒๕๕๒, สมาคมวิชาการไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม และสารสนเทศ (ECTI), 2552.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 2331
โทรสาร : 662-9884040
e-mail : sommart@mut.ac.th
Close

Assistance Prof. Dr. Chokchai Sangdao

ผศ.ดร. โชคชัย แสงดาว
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำ

การศึกษา

  • คบ. อุตสาหกรรมศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์
  • อส.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • วศ.ม. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • วศ.ด. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

การทำงาน

  • พ.ศ. 2537-ปัจจุบัน อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EECM0810 พลศาสตร์ไฟฟ้า (Electrodynamics)

ทุนวิจัย

  1. 1.พ.ศ. 2548-2551 นกั วิจัยโครงการ “เทคโนโลยีสายอากาศ (ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ ผู้รับทุน เมธีวิจัยอาวุโส ; RTA 4180002)” จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  2. พ.ศ. 2551-2554 นักวิจัยโครงการ “เทคโนโลยีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเพื่อเกษตรยั่งยืน (ศ.ดร. โมไนย ไกรฤกษ์ ผู้รับทุนเมธีวิจัยอาวุโส ; RTA 5180002)” จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  3. พ.ศ.2552-2554 หัวหน้าโครงการ “การทำนายความชื้นในเมล็ดข้าวเปลือกที่ผ่านการ อบแห้งอย่างต่อเนื่องด้วยไมโครเวฟร่วมกับฟลูอิไดซ์เบด” ทุนวิจัยมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจำปี 2552 (MRG-WII525E063)

รางวัลเกียรติยศ

  1. พ.ศ. 2554 รางวัลผลงานวิจัยเด่น สกว. ประจำปี พ.ศ. 2551 เรื่อง “เครื่องลดความชื้น ข้าวเปลือกและเครื่องวัดความชื้นของข้าวเปลือกเพื่อชาวนาไทย” 3 ธันวาคม 2551

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  1. Microwave Heating
  2. Microstrip Antenna Technology
  3. Microstrip Bandpass Filter
  4. Mutual Coupling of cavity
  5. A Performance Testing of Far-Field Microwave Heating in Distilled Water

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. A Standard of FM Radio Braodcasting in Thailand. Chokchai Sangdao. Engineering Transaction, Vol. 16, No. 1(34), pp. 51-63, 2013.
  2. Spurious Suppression and Design Based on Microstrip Open Loop Ring Resonator Bandpass Filters. P. Arunvipas, C. Sangdao and R. Phromloungsri. IEICE Transaction on Electronics, Vol. E94-C, No. 9, pp. 1447-1454, 2011.
  3. A Continuous Fluidized Bed Microwave Paddy Drying System Using Applicators with Perpendicular Slots on a Concentric Cylindrical Cavity. C. Sangdao, S. Songsermpong and M. Krairiksh. Drying Technology An International Journal, Vol. 29, pp. 35-46, 2011.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883655 ต่อ 2342
โทรสาร : 662-9884040
e-mail : chokchai@mut.ac.th
homepage : http://www.telco.mut.ac.th/telco_en/
Close

Asst.Prof.Dr.Theerayod Wiangtong

ผศ.ดร.ธีรยศ เวียงทอง
ตำแหน่ง: รองคณบดี ฝ่ายวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ผู้อำนวยการหลักสูตรสองภาษา สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า

การศึกษา

  • ปริญญาตรี : วศ.บ.(อิเล็กทรอนิกส์) (เกียรตินิยม อันดับ 1) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง
  • ปริญญาโท : M.Sc. in Satellite Communication Engineering University of Surrey
  • ปริญญาเอก : Ph.D.(Electrical Engineering) Imperial College of Science, Technology and Medicine

การทำงาน

  • Network Planning Engineer, บริษัท เทเลคอม เอเซีย
  • อาจารย์ประจำภาควิชาอิเล็กทรอนิกส์, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร
  • คณะกรรมการสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา

วิชาที่สอน

  • EECC0210 Electric Circuit Analysis I
  • EECC0310 Electric Circuit Analysis II
  • EEET0413 VLSI Design and Tools
  • EEET0441 HDL CHip design
  • EEET0486 Modern Digital System Design
  • EEET0750 Digital System Design Techniques
  • EEET0752 Synthesis and Optimization in Digital Circuits
  • EEET0771 Hardware/Software Codesign

ทุนวิจัย

  • หัวหน้านักวิจัยเรื่อง Wireless Surveillance System โดยได้รับทุนจาก สกว เป็นระยะเวลา 1 ปี ร่วมกับ สำนักงานวิจัยและพัฒนาการทหาร กลาโหม ศูนย์รักษาความปลอดภัย กองบัญชาการทหารสูงสุด และหน่วยบัญชาการ นาวิกโยธิน
  • นักวิจัยร่วม โครงการศึกษาผลกระทบของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการโซ่ อุปทาน โดยได้รับทุนจาก สกอ.

หัวข้องานวิจัยที่สนใจ

  • High Level Languages, Embedded system
  • Digital IC design
  • FPGA
  • Reconfigurable computing platform
  • Video/Image processing applications
  • Digital TV/Radio
  • Optimization in Hardware/software co-design
  • Embedded system
  • Computational processing implemented in FPGA
  • IP camera in wireless surveillance system
  • Agritronics

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

การประชุมวิชาการ Conference papers

  1. Theerayod Wiangtong , “Sine/Cosine Generator Implemented in HM coherent demodulator using ACTEL”, Electrical Engineering Conference (EECON-19), 1996
  2. Theerayod Wiangtong, “LED Display Board Controller Using ALTERA FPGAs”, Electrical Engineering Conference (EECON-21), 1998
  3. Theerayod Wiangtong, Woranart Sangchai, “Using FPGAs for PWM signal with Vector Modulation Technique” Electrical Engineering Conference (EECON-22), 1999
  4. Theerayod Wiangtong, Woranart Sangchai, “IGBT Inverter with Vector Modulation Technique Implemented on ALTERA FPGAs” ISPAC’99, 1999
  5. Theerayod Wiangtong, Woranart Sangchai, “FPGAs Based IC Design for Inverter with Vector Modulation Technique”, International Symposium on Circuits and Systems (ISCAS), 2000
  6. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “Comparing Three Heuristic Methods for Hardware-Software Partitioning and Scheduling”, International Symposium on Communication and Information Technologies 2001 (ISCIT), 2001
  7. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk , “UltraSONIC: System Modelling and a Comparison” ACM SIGDA UK, 2001
  8. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk ,”Tabu Search with Intensification Strategy for Functional Partitioning and Scheduling in Hardware-Software Codesign”, The IEEE Symposium on Field-Programmable Custom Computing Machines (FCCM), 2002
  9. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “ SONICmole: A Debugging Environment for the UltraSONIC Reconfigurable Computer”, International Symposium on Circuits and Systems (ISCAS), 2003
  10. Theerayod Wiangtong, Chung T. Ewe, Peter Cheung, “Multitasking in Hardware-Software Codesign for Reconfigurable Computer”, International Symposium on Circuits and Systems (ISCAS), 2003
  11. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “ Cluster-Driven Hardware/Software Partitioning and Scheduling Approach For a Reconfigurable Computer System”, The International Conference on Field Programmable Logic and Applications (FPL), 2003
  12. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk,” A Unified Codesign Run-time Environment for the UltraSONIC Reconfigurable Computer”, The International Conference on Field Programmable Logic and Applications (FPL), 2003 2
  13. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “Hardware/Software Codesign Method for Reconfigurable Platforms”, Electrical Engineering Conference (EECON-26), 2003
  14. Theerayod Wiangtong, Paiboon Thaninsurat, Prasoot Dejsuwan, “Universal High Speed Inverter Controller for AC Induction Motors”, Electrical Engineering Conference (EECON-28), 2005
  15. Theerayod Wiangtong, Sirisak Leepokanon, “Hardware Accelerator for Object Tracking in Multi-camera Systems”, Electrical Engineering Conference (EECON-28), 2005
  16. Panan Potipantong, Theerayod Wiangtong, Apisak Warapishet, “A Scaleable FFT/IFFT Kernel for Communication Systems using Codesign Approach”, Electrical Engineering Conference (EECON-28), 2005
  17. Panan Potipantong, Theerayod Wiangotng, Apisak Warapishet, Phaophak Sirisuk, “A Scaleable FFT/IFFT Kernel for Communication Systems using Codesign Approach”, Field Programmable Technology FPT, 2005
  18. Theerayod Wiangtong, Prasoot Dejsuwan, “ Unified Motor Controller Based on Space Vector Modulation Technique”, International Symposium on Circuits and Systems (ISCAS), 2006
  19. Noppadol Khaehintung, Phaophak Sirisuk, Theerayod Wiangtong, “Control of Bifurcation for a Current-Mode DC/DC Boost Converter by Self-Inductor Current Feedback”, International Symposium on Communication and Information Technologies (ISCIT), 2006
  20. Noppadol Khaehintung, Theerayod Wiangtong, Phaophak Sirisuk, “FPGA Implementation of MPPT Using Variable Step-Size P&O Algorithm for PV Applications”, International Symposium on Communication and Information Technologies (ISCIT), 2006
  21. Panan Potipantong, Soontorn Oriantara, Phaophak Sirisuk, Theerayod Wiangtong, Apisak Worapishet, “The Unified Discrete Fourier-Hartley Transforms Processor”, International Symposium on Communication and Information Technologies (ISCIT), 2006
  22. Sirisak Leepocanon, Theerayod Wiangtong, Object Tracking and Motion Capturing in Hardware-Accelerated Multi-Camera System, International Workshop on Applied Reconfigurable Computing (ARC2009, ) Karlsrule, Germany, March 2009
  23. Theerayod Wiangtong and Sethakarn Prongnuch, “Computer Vision Framework for Object Monitoring”, International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON), 2012
  24. Theerayod Wiangtong, Prayoon Juangjun, “Temperature and Humidity Controller for Closed Systems”, ECTI-CARD, 2012
  25. Sethakarn Prongnuch and Theerayod Wiangtong, “Implementation and Evaluation of Ethernet Interface in Co-design Reconfiguration System”, Electrical Engineering Conference (EECON-35), 2012
วารสารวิจัย Journal/Magazine

  1. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “Comparing Three Heuristic Search Methods for Functional Partitioning in Hardware-Software Codesign”, International Journal of Embedded Design and Automation, Kluwer academic publishers, 2000
  2. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “Hardware/software Codesign for Data-dominated DSP Applications”, IEEE Signal Processing Magazine: Special issue on Hardware/Software Co-design for DSP, Vol.22, No.3, May 2005
หนังสือ/ตำรา/บทความ Book/Book chapter

  1. Theerayod Wiangtong, Peter Cheung, Wayne Luk, “A Unified Codesign Run-time Environment for the UltraSONIC Reconfigurable Computer”, Chapter 7: New Algorithms, Architectures and Applications for Reconfigurable Computing, Springer, Edited by P.Lysaght and W.Rosenstial, May 2005
  2. ธีรยศ เวียงทอง, “HDL chip design, การ ออกแบบระบบดิจิตอลด้วยภาษา HDL”, ตำรา ประกอบการสอน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหา นคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 271 หน้า, พศ. 2552

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร
140 ถ.เชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530
โทร : (662) 9883650-55 ต่อ 1128
FAX : (662) 9883650-55 ext 1128
email : theerayo@mut.ac.th
homepage: http://www.ee.mut.ac.th/home/theerayod
Close

Asst. Prof. Dr. Saliltip Sinthusonthishat

ผศ.ดร. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ
ตำแหน่ง: หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • ได้รับการแต่งตั้งเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2536

วิชาที่สอน

  • EEPW0713
  • EEPW0715
  • EEPW0815

ทุนวิจัย

  • ทุนอุดหนุนและส่งเสริมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท-เอกประจำปีงบประมาณ 2546 ผู้ให้ทุน วิจัยคือทบวงมหาวิทยาลัย
  • ทุนอุดหนุนและส่งเสริมวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท-เอกประจำปีงบประมาณ 2547 ผู้ให้ทุน วิจัยคือทบวงมหาวิทยาลัย
  • ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ (Research Grant for New Scholar (Co-funded by TRF and CHE)) ทุนวิจัยเลขที่ MRG5080194 ผู้ให้ทุนวิจัยคือสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ตั้งแต่ 1 ก.ค. 2550-1 ก.ค. 2551

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การเปลี่ยนรูปพลังงาน
  • พลังงานทางเลือก

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

  1. S. Sinthusonthishat and V. Kinnares. “A New Modulation Strategy for Unbalanced Two Phase Induction Motor Drives Using a Three-Leg Voltage Source Inverter.” IEE of Japan Trans. on Industry Applications, vol. 125-D, no. 5, pp. 482-491, 2005.
  2. Saliltip Sinthusonthishat and Nontawat Chuladaycha. “A Simplified Modulation Strategy for Three-leg Voltage Source Inverter Fed Unsymmetrical Two-winding Induction Motor” Journal of Electrical Engineering and Technology, vol. 8, no. 6, pp. 1337-1344, 2013. (ISI 0.725:2013, Q2)
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ

  1. ณพสิทธิ์ เม่งพัด และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การทำนายสมรรถนะของมอเตอร์เหนี่ยวนำสาม ขดลวดแบบสมมาตรเมื่อนำมาใช้กับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าหนึ่งเฟส” วารสารไฟฟ้าสาร (Electrical Engineering Magazine) ปีที่ 15 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สิงหาคม 2551 หน้า 63-64
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

  1. P. Thiravasin, J. Sinthusonthichat, S. Potivejkul and V. Kinnares “Computer Aided Design for Runway Lighting System” International Power Engineering Conference 1999 (IPEC’99) pp. 85-89, 1999.
  2. V. Kinnares, J. Sinthusonthichat, A. Jangwanitlert, and S. Potivejkul ‘”Influence of Leakage Inductance on Harmonic Losses in PWM Fed Induction Motors” International Power Engineering Conference 1999 (PieC’99), PP. 618-623, 1999.
  3. P. Thiravasin, J. Sinthusonthichat, and S. Potivejkul “Computer Aided Design for Underground Cable System” IEEE Region Ten Conference 1999(TENCON’99), pp. 1462-1465, 1999.
  4. P. Thiravasin, J. Sinthusonthichat, and S. Potivejkul “Design and Construction of Mini Ice Storage Air Conditioning System” IEEE Region Ten Conference 1999 (TENCON’99), pp. 1454-1457, 1999.
  5. P. Thiravasin, J. Sinthusonthichat “Fire Alarm System Controlled By Microcontroller” International Conference on Accelerator and Large Experimental Physics Control Systems 1999 (ICALEPCS’99), pp. 523-525, 1999.
  6. J. Sinthusonthichat, V. Kinnares. “Performance Evaluation of Variable Speed Two-Phase Induction Motors.” Proc. IEEE PowerCon 2002, pp. 2565-2568, 2002.
  7. J. Sinthusonthichat, R. Areehamad, V. Kinnares. “Comparative Performance Evaluation of Two-Phase PWM Inverter Fed Induction Motor Drives with Various Topologies.” Proc. IEEE IPEC 2003, pp. 1034-1038, 2003.
  8. S. Sinthusonthishat. “Comparison of Unsymmetrical Two-winding Induction Motor Performances under Variable Speed Control Techniques.” Proc. IEEE ICIEA 2007, pp. 1976-1980, 2007.
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ

  1. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ จงรัก บุญเส็ง “ขบวนการผลิตอิเล็กโตรดภายในอุณหภูมิต่ำ “ การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 16 หน้า 1-6 พ.ศ. 2536
  2. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การป้องกันแรงดันไฟฟ้าสูง-ต่ำกว่าปกติของ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส” วิศวสารลาดกระบังปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 24-31 พ.ศ. 2538
  3. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “เครื่องทดสอบรีเลย์” การประชุมวิชาการทาง วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 18 หน้า 108-113 พ.ศ. 2538
  4. มิณเรศ เตชะวงศ์, จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “รีเลย์ปิดกลับอัตโนมัติแบบ อีเลคทรอนิคส์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 18 หน้า 170-175 พ.ศ. 2538
  5. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “รีเลย์ป้องกันระบบไฟฟ้าแบบวัดค่าผลต่างชนิด โซลิดสเตท 3 เฟส “ การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 18 หน้า 164-169 พ.ศ. 2538
  6. พิสัณห์ ถิรวศิน จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การวิเคราะห์แรงดันเสิร์จใน ระบบสายใต้ดิน “ การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 19 หน้า PW142-PW147 พ.ศ. 2539
  7. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “ระบบไฟฟ้ากำลังจำลอง” การประชุมวิชาการ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 19 หน้า PW148-154 พ.ศ. 2539
  8. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ พิสัณห์ ถิรวศิน “การออกแบบ และการสร้างหม้อแปลงทดสอบ ชนิดน้ำมันบรรจุในถังฉนวนขนาด 150 kV” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 20 หน้า 766-771 พ.ศ. 2540
  9. พิสัณห์ ถิรวศิน จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การออกแบบการติดตั้ง ระบบสายเคเบิลใต้ดิน โดยใช้คอมพิวเตอร์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 20 หน้า 50-54 พ.ศ. 2540
  10. พิสัณห์ ถิรวศิน จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การออกแบบระบบรันเวย์ สนามบินโดยใช้คอมพิวเตอร์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรม ไฟฟ้า ครั้งที่ 21 หน้า 166-169 พ.ศ. 2541
  11. พิสัณห์ ถิรวศิน จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การสร้างชุดทดสอบสาย เคเบิลใต้ดินขนาดพิกัดแรงดันไฟฟ้า 1-30 kVrms” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 21 หน้า 533-536 พ.ศ. 2541
  12. พิสัณห์ ถิรวศิน จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ และ ศิริวัฒน์ โพธิเวชกุล “การวิเคราะห์การต่อชีทลงก ราวด์ที่มีผลต่อสายเคเบิลใต้ดินโดยใช้คอมพิวเตอร์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้ง ที่ 21 หน้า 537-540 พ.ศ. 2541
  13. P. Thiravasin, J. Sinthusonthichat “Surge Characteristics Analysis of Underground Cable” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 24 หน้า 322-325 พ.ศ. 2544
  14. ณพสิทธิ์ เม่งพัด และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ“การคำนวณค่าความเก็บประจุ และประมาณค่า แรงบิดของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามขดลวดแบบสมมาตรที่ต่ออยู่กับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟส” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 30 หน้า 1-4 พ.ศ. 2550
  15. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และณพสิทธิ์ เม่งพัด“การเปรียบเทียบสมรรถนะของมอเตอร์เหนี่ยวนำ สามขดลวดแบบสมมาตรเมื่อใช้กับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าหนึ่งเฟส” การประชุมวิชาการทาง วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 30 หน้า 29-32 พ.ศ. 2550
  16. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การประมาณค่าแรงบิด-ความเร็วรอบของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส เมื่อใช้กับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าหนึ่งเฟส ในสภาวะคาร์ปาซิเตอร์ต่อร่วมถาวรแบบอนุกรม” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 31 หน้า 97-100 พ.ศ. 2551
  17. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และ กัลยา เย็นฉ่ำ “การทำนายสมรรถนะของมอเตอร์เหนี่ยวนำสาม เฟสเมื่อต่อกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟสในรูปแบบของคาร์ปาซิเตอร์ต่อร่วมถาวรแบบขนาน” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 31 หน้า 169-172 พ.ศ. 2551
  18. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และณรงค์ฤทธิ์ เรียนทับ“การใช้งานมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสกับ แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าหนึ่งเฟส” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 32 หน้า 119- 122 พ.ศ. 2552
  19. ณรงค์ฤทธิ์ เรียนทับ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การทำนายสมรรถนะของมอเตอร์เหนี่ยวนำ สามเฟสเมื่อต่อใช้งานกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟสในรูปแบบของคาปาซิเตอร์สตาร์ท” การประชุม วิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 32 หน้า 123-126 พ.ศ. 2552
  20. กัลยา เย็นฉ่ำ ปุณยภัทร ภูมิภาค และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การคำนวณหาค่าความเก็บ ประจุสำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสเมื่อต่อใช้งานกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟสร่วมกับจีเนติกอัลกอ รึธึม” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 32 หน้า 163-166 พ.ศ. 2552
  21. นราดล โชติวรรณพร, สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ, ปุณยภัทร ภูมิภาค และ สร จารุวรรณชัย“การ ปรับปรุงรูปแบบการสอนสำหรับรายวิชาปฏิบัติการพื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง” การประชุม วิชาการวิศวศึกษา ครั้งที่ 8 (NCEEd-8) หน้า 6-8 พฤษภาคม 2553 โรงแรมเลอเมอริเดียน จังหวัดเชียงใหม่
  22. บุรีรักษ์ สังข์คงเมือง และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การศึกษาการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ขดลวดสเตเตอร์ ช่องสเตเตอร์ และฟันสเตเตอร์ของอินดักชันมอเตอร์สามเฟสในกรณีต่อใช้งาน กับแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลแบบต่ำกว่าปกติ” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้ง ที่ 33 หน้า 137-140 พ.ศ. 2553
  23. ไพโรจน์ ปรางค์ศรีอรุณ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การเปรียบเทียบคุณสมบัติการเริ่มต้น หมุนของการขับมอเตอร์เหนี่ยวนำหนึ่งเฟสด้วยวิธีการควบคุมแรงดันไฟฟ้าแบบต่าง ๆ” การ ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33 หน้า 533-536 พ.ศ. 2553
  24. ณรงค์ฤทธิ์ เรียนทับ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การทำนายประสิทธิภาพมอเตอร์เหนี่ยวนำ สามเฟสต่อแบบเดลต้าเมื่อนำไปใช้งานกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟส” การประชุมวิชาการทาง วิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33 หน้า 129–132 พ.ศ. 2553
  25. ณรงค์ฤทธิ์ เรียนทับ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “เทคนิคการประมาณประสิทธิภาพมอเตอร์ เหนี่ยวนำสามเฟสเมื่อต่อใช้งานกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟสในกรณีต่อขดลวดแบบสตาร์ร่วมกับตัว เก็บประจุสองค่า” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33 หน้า 133-136 พ.ศ. 2553
  26. ศักรินทร์ ทองเทพ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การขับมอเตอร์เหนี่ยวนำสองขดลวดที่ไม่ สมมาตรด้วยเทคนิคการควบคุมแรงดันรูปแบบต่าง ๆโดยใช้แหล่งจ่ายแรงดันซายน์” การประชุม วิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 33 หน้า 93-96 พ.ศ. 2553
  27. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และ ปุณยภัทร ภูมิภาค “ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นของการดัดแปลง มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสมาใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้าหนึ่งเฟส” การประชุมวิชาการเครือข่าย พลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 พฤษภาคม 2554 โรงแรมภูเก็ต ออร์คิด รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต หน้า 728-732 พ.ศ. 2554
  28. ปุณยภัทร ภูมิภาค และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบเส้นแรงแม่เหล็กตาม แนวแกนที่ไม่มีแปรงถ่านสำหรับพลังงานลม” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศ ไทย ครั้งที่ 7 พฤษภาคม 2554 โรงแรมภูเก็ต ออร์คิด รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต หน้า 1111-1115 พ.ศ. 2554
  29. ศักรินทร์ ทองเทพ และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การขับมอเตอร์เหนี่ยวนำหนึ่งเฟสชนิดตัว เก็บประจุสองค่าด้วยเทคนิคการควบคุมแรงดันไฟฟ้ารูปแบบต่าง ๆ โดยใช้แหล่งจ่ายแรงดัน ซายน์” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34 30 พ.ย – 2 ธ.ค. 2554โรงแรมแอม บาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จังหวัดชลบุรี หน้า 337-340 พ.ศ. 2554
  30. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และ ไพโรจน์ ปรางค์ศรีอรุณ “การเปรียบเทียบสมรรถนะของการขับ มอเตอร์เหนี่ยวนำหนึ่งเฟสในรูปแบบต่าง ๆ” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34 30 พ.ย – 2 ธ.ค. 2554 โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จังหวัดชลบุรี หน้า 317- 320 พ.ศ. 2554
  31. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และ กุลสมทรัพย์ เย็นฉ่ำชลิต “การเปรียบเทียบการคำนวณหาค่า ความเก็บประจุสำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสเมื่อต่อใช้งานกับระบบไฟฟ้าหนึ่งเฟสโดยใช้ วิธีการจีเนติกอัลกอรึธึมกับการหาค่าที่เหมาะสมด้วยการเคลื่อนที่ของกลุ่มอนุภาค” การประชุม วิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 34 30 พ.ย – 2 ธ.ค. 2554 โรงแรมแอมบาสเดอร์ ซิตี้ จอม เทียน พัทยา จังหวัดชลบุรี หน้า 325-328 พ.ศ. 2554
  32. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ และ ปุณยภัทร ภูมิภาค “การเปรียบเทียบคุณลักษณะของเทคนิคการ ควบคุมแบบต่าง ๆสำหรับเครื่องอบไฟฟ้าชนิดรังสีอินฟราเรดช่วงไกล” การประชุมวิชาการ เครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 พฤษภาคม 2555 โรงแรมตักสิลา จังหวัด มหาสารคาม หน้า ENETT8-EC03 1/8 - ENETT8-EC03 8/8 พ.ศ. 2555
  33. ปุณยภัทร ภูมิภาค และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “ผลกระทบของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้าไม่ สมดุลต่อประสิทธิภาพของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 8 พฤษภาคม 2555 โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม หน้า ENETT8- EC04 1/8 - ENETT8-EC04 8/8 พ.ศ. 2555
  34. บุรีรักษ์ สังข์คงเมือง และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “การศึกษาผลกระทบของแหล่งจ่าย แรงดันไฟฟ้าที่หายไปหนึ่งเฟสต่ออุณหภูมิของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสเมื่อต่อใช้งานร่วมกับ หม้อแปลงซิกแซก” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 พฤษภาคม 2555 โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม หน้า ENETT8-EC27 1/8 - ENETT8-EC27 8/8 พ.ศ. 2555
  35. ชยพัทธ์ ถาวรพัฒน์วรกุล ปุณยภัทร ภูมิภาค และ สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “โปรแกรมการ ออกแบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับสามเฟสชนิดเส้นแรงแม่เหล็กตามแนวแกนเพื่อ ประยุกต์ใช้สำหรับพลังงานทางเลือก” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 พฤษภาคม 2555 โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม หน้า ENETT8-EC13 1/8 - ENETT8-EC13 8/8 พ.ศ. 2555
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นๆ

  1. จารุรัตน์ สินธุสนธิชาติ “ปั่นไฟด้วยมอเตอร์เหนี่ยวนำ” วารสารเทคนิคเครื่องกล-ไฟฟ้า- อุตสาหกรรม ฉบับที่ 92 ปีที่ 9 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2535 หน้า 89-91
  2. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “แผ่นป้ายมอเตอร์นั้นสำคัญไฉน? (ตอนที่ 1 : ข้อมูลพื้นฐาน)” www.mut.ac.th
  3. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “แผ่นป้ายมอเตอร์นั้นสำคัญไฉน? (ตอนที่ 2 : คุณสมบัติ และลักษณะ การใช้งาน)” www.mut.ac.th
  4. สลิลทิพย์ สินธุสนธิชาติ “ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้ประหยัด” อังคารที่ 14 มิถุนายน 2554 หนังสือพิมพ์ข่าวสด

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 3305
โทรสาร : 662-9883650-55 ต่อ 3309
e-mail : saliltip@mut.ac.th
Close

ผศ.ดร. สัมพันธ์ พรหมพิชัย

ผศ.ดร. สัมพันธ์ พรหมพิชัย
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • วศ.ม. วิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด. วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

การทำงาน

  • อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ดั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-ปัจจุบัน

วิชาที่สอน

  • EEET0776 Digital Signal Processing for Communications

ทุนวิจัย

  • ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ปี พ.ศ. 2549

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Digital Signal Processing for Communications

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. S. Pampichai and P. Sirisuk, “On the Use of A Posteriori Adaptation for Blind Multiuser Detection,” in Proc. ISCIT’2002, pp. 186-189, 2002.
  2. S. Pampichai and P. Sirisuk, “Blind Adaptive Multiuser Detection: Effect of New User and A Posteriori Adaptation,” in Proc. EECON-25, vol. 2, pp. 128-131, 2002.
  3. S. Pampichai and P. Sirisuk, “On the Improvement of Blind MOE Detector via A Posteriori Adaptation and Adaptive Step-size,” in Proc. IEEE ISCAS’ 2003, pp. 460-463, 2003.
  4. S. Pampichai and P. Sirisuk, “On the Improvement of Blind AS-CMOE via Subspace Method for Dual Rate DS-CDMA Systems,” in Proc. EECON-26, pp. 1120-1124, 2003.
  5. P. Yuvapoositanon and S. Phrompichai, “An Adaptive Step-size LMS Chip Equaliser for Long-code Downlink CDMA,” in Proc. ECTI ‘2003, pp. 210-213, 2003.
  6. S. Pampichai, P. Yuvapoositanon and P. Sirisuk, “Subspace-Based Interference Suppression Technique for Long-code Downlink CDMA Adaptive Receiver,” in Proc. MWSCAS’2004, vol. 2, pp. 41-44, 2004.
  7. S. Pampichai and P. Sirisuk, “Adaptive Step-size LMS Multiuser Detection for Long-code Downlink CDMA Systems,” in Proc. EECON-27, pp. 145-148, 2004.
  8. S. Phrompichai, P. Yuvapoositanon and P. Sirisuk, “Subspace-Based Interference Suppression Technique for Long-Code Downlink CDMA Adaptive Receiver,” IEICE Trans. Special Section on Adaptive Signal Processing and Its Application, vol. E88-A, no. 3, pp. 676-684, March 2005.
  9. S. Phrompichai, P. Yuvapoositanon and P. Sirisuk, “A Semiblind Receiver for Long-Code Downlink Multirate DS-CDMA,” in Proc. EECON-28, pp. 681-684, 2005.
  10. S. Phrompichai, P. Yuvapoositanon and P. Sirisuk, “A Space-time Semiblind Receiver for Space-Time Block-Coded DS-CDMA Downlink” in Proc. EECON-28, pp. 685-688, 2005.
  11. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Semiblind Receiver for Space-Time Block-Code Downlink Multirate DS-CDMA Systems,” in Proc. ISCAS’2006, pp. 401-404, 2006.
  12. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Semiblind Receiver Based upon Multiple Constrained Subspace MUD for Long-Code Downlink Multirate DS-CDMA Systems” in Proc. ISCAS’2006, pp. 409-412, 2006.
  13. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Chip Semiblind Receiver for STBC Downlink MC-CDMA Systems without CP,” in Proc. MWSCAS’2007, pp. 333-336, 2007.
  14. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Space-Time Chip Semiblind Multiuser Receiver Based on LMS Algorithms” in Proc. APCC’2008, 2008.
  15. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Chip Semiblind Receiver Based on an Adaptive Mixing Parameter for STBC Downlink MC-CDMA with CPICH Systems,” in Proc. APCC’2008, 2008.
  16. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Time-Reversal Space-Time Chip Semiblind Receiver for TR-STBC Downlink MIMO MC-CDMA Systems,” in Proc. WiMob’2009, 2009.
  17. S. Phrompichai, “A Per-Group Frequency-Domain Semiblind Multiuser Receiver for SFBC Downlink MIMO MC-CDMA with CPICH Systems and without CP,” in Proc. EECON’33, pp. 1325-1328, 2010.
  18. S. Phrompichai, “A Time-Domain Space-Time Chip Semiblind Multiuser Receiver for TR-STBC Downlink MIMO MC-CDMA Systems,” in Proc. EECON’33, pp. 1329-1332, 2010.
  19. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “A Per-Carrier Semiblind Multiuser Receiver for SFBC Downlink MIMO MC-CDMA Systems,” in Proc. ECTI’2011, pp. 1055-1058, 2011.
  20. S. Phrompichai and P. Yuvapoositanon, “An Adaptive Widely Linear Per-Group Frequency-Domain Semiblind Multiuser Receiver,” ENGINEERING TRANSACTIONS, Vol. 14, pp. 61-68, 2011.
  21. S. Phrompichai, “Adaptive Semiblind Receiver for 3GPP LTE downlink MIMO-OFDM systems,” in Proc. ISPACS’2012, pp. 860-865, 2012.
  22. S. Phrompichai, “SGD Frequency-Domain Space-Frequency Semiblind Multiuser Receiver with an Adaptive Optimal Mixing Parameter,” Radioengineering, vol. 22, no. 1, pp. 400-410, April, 2013.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 1128
โทรสาร : 662-9883650-55 ต่อ 1128
e-mail : samphan@mut.ac.th
Close

Assist. Prof. Dr. Suchada Sitjongsataporn

ผศ.ดร. สุชาดา สิทธิ์จงสถาพร
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำ

การศึกษา

  • วศ.บ. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ( เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • วศ.ด.สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สาขาย่อยอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

การทำงาน

  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • Visiting Profes sor, Kasuga Laboratory, Utsunomiya University, Yoto Campus Utsunomiya, Japan. (November, 2012)

วิชาที่สอน

  • EECC0906 การวิเคราะห์เชิงสถิติ

ทุนวิจัย

  • ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2550 มูลนิธิการศึกษาเชล 100ปี (โครงการ:การปรับแต่งสัญญาณขั้นสูง ในระบบดีสครีตมัลติโทน)

รางวัลเกียรติยศ

  • รางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี จากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยประจำปี 2553
  • ทุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • ทุนการศึกษาสำหรับโครงการนักศึกษาแลกเปลี่ยนระดับปริญญาตรี ระหว่างมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร และ มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลล์ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ประจำปี การศึกษา 1 /2544

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Adaptive Signal Processing in Communications:
  • Mathematical and Statistical Model

ผลงานทางวิชาการ การค้นคว้า วิจัย หรือการแต่งตำรา

  1. S.Sitjongsataporn, “Adaptive Step-Size Orthogonal Gradient-Based Per-Tone Equalisation in Discrete Multitone,” in Advances in Discrete Time Systems, Magdi Mahnoud (Ed.), ISBN: 980-953-307-589-6, InTech, 2012.
  2. S. Sitjongsataporn and P. Yuvapoositanon, Adaptive Step-size Order Statistic LMS-based Time-domain Equalisation in Discrete Multitone Systems, Discrete Time Systems, Mario Alberto Jordán (Ed.), ISBN: 978-953-307-200-5, InTech, 2011.
  3. Suchada Sitjongsataporn, Advanced Adaptive DMT Equalisation: Algorithms and Implementation, LAMBERT Academic Publishing, 2011.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : +662-9883650-55 ต่อ 1128, 1135
โทรสาร : +662 988 36 55 ต่อ 1128
e-mail : ssuchada@mut.ac.th
homepage : www.ee.mut.ac.th
Close

Asst. Prof. Dr. Amorn Jiraseree-amornkun

ผศ.ดร. อมร จิรเสรีอมรกุล
ตำแหน่ง: อาจารย์

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

การทำงาน

  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ตั้งแต่ปี 2556
  • อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และนักวิจัยห้องปฏิบัติการออกแบบวงจรรวม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ตั้งแต่ปี 2550
  • นักวิจัยห้องปฏิบัติการประมวลผลสัญญาณรวม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง ระหว่างปี 2542-2547

วิชาที่สอน

  • EEET0715 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มาก
  • EEET0815 การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มาก

ทุนวิจัย

  • ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหว่างปี 2554-2556
  • นักวิจัยในโครงการทุนเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ระหว่างปี 2549-2552

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การออกแบบวงจรกรองสัญญาณกำลังงานและแรงดันต่ำ
  • การออกแบบระบบปรับตัวได้ช่วงความถี่ฐาน
  • วงจรอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการแพทย์
  • การผสมสัญญาณแบบเดลต้า-ซิกม่า
  • ระบบการสื่อสารไร้สายและอาร์เอฟอดี
  • การออกแบบสายอากาศย่านความถี่วิทยุ

ผลงานตีพิมพ์

  1. A. Jiraseree-amornkun, A. Woraphishet, E.A.M. Klumperink, B. Nauta, and W. Surakampontorn, “Theoretical analysis of highly linear tunable filters using switched-resistor technique,” IEEE Transaction on Circuits and Systems I, Regular Papers., vol. 55, no. 11, pp. 1508–1514, Dec. 2008.
  2. A. Jiraseree-amornkun, and W. Surakampontorn, “Efficient implementation of tunable ladder filters using multi-output current controlled conveyors,” International Journal of Electronics and Communications (AEU), vol. 62, no. 1, pp. 11–23, Jan. 2008.
  3. C. Sawigun and A. Jiraseree-amornkun, “A switched gain cell parametric amplifier,” in Proceedings of the 2013 IEEE International Symposium on Circuits and Systems (ISCAS 2013), Beijing, China, May 2013, pp.594-597.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 1128
โทรสาร : 662-9883650-55 ต่อ 1128
e-mail : amorn@mut.ac.th
homepage : www.mims.mut.ac.th/amorn
Close

Assoc. Prof. Dr. Rachu Punchalard

รศ.ดร. ราชู พันธ์ฉลาด
ตำแหน่ง: อาจารย์ประจำ

การศึกษา

  • อส.บ. เทคโนโลยีโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ม. วิศวกรรมไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • วศ.ด. วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโลยีมหานคร

การทำงาน

  • 2540-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EECS0710 การประมวลผลสัญญาณดิจิทัล (เฉพาะวิชาใน ป.โท และ ป.เอก)
  • EECM0730 ระบบโทรคมนาคมแบบดิจิทัล
  • EECM0830 ระบบโทรคมนาคมแบบดิจิทัล

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • การประมวลผลสัญญาณแบบปรับตัว

ผลงานตีพิมพ์

I. Peer-reviewed journal articles

  1. Direct frequency estimation based adaptive algorithm for a second-order adaptive FIR notch filter R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkein, and A. Roeksabutr Signal Processing, Vol. 88, Issue 2, pp. 315-325, Feb. 2008.
  2. Adaptive IIR notch filters based on new error criteria
  3. R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, J. Koseeyaporn, P. Wardkein, and A. Roeksabutr Signal Processing, Vol. 88, Issue 3, pp. 685-703, March 2008.
  4. Adaptive IIR notch filter using a modified sign algorithm R. Punchalard, J. Koseeyaporn, and P. Wardkein Signal Processing, Vol. 89, Issue 2, pp. 239-243, Feb 2009.
  5. Indirect frequency estimation based on second-order adaptive FIR notch filter R. Punchalard, J. Koseeyaporn, and P. Wardkein Signal Processing, Vol. 89, Issue 7, pp. 1428-1435, Jul. 2009.
II. Peer-reviewed conference articles

  1. Modified sign algorithm for a constrained adaptive IIR notch filter R. Punchalard, J. Koseeyaporn, and P. Wardkein APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  2. Statistical analysis of an unbiased plain gradient algorithm for a constrained adaptive IIR notch filter R. Punchalard, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, and P. Wardkein APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008, 14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  3. Mean square error analysis of the PG algorithm for adaptive IIR notch filter with constrained poles and zeros using power spectral density method R. Punchalard, J. Koseeyaporn, and P. Wardkein APCCAS 2008. IEEE Asia Pacific Conference on Circuits and Systems, 2008, Nov. 30 2008-Dec. 3 2008, pp. 193 – 196. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  4. Unbiased constrained adaptive IIR notch filter using direct frequency estimation algorithm R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkeir, and A. Roeksabutr APCC 2007, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2007, 18-20 Oct. 2007 pp. 453 – 456. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  5. Steady-state analysis of an unbiased equation error adaptive IIR notch filter R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkeir, and A. Roeksabutr APCC 2007, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2007, 18-20 Oct. 2007 pp. 437 – 440. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  6. Unbiased plain gradient algorithm for adaptive 11R notch filter with constrained poles and zeros R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkeir, and A. Roeksabutr TENCON 2007 - 2007 IEEE Region 10 Conference, Oct. 30 2007-Nov. 2 2007 pp. 1 – 4. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  7. Unbiased equation error adaptive IIR notch filter R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkeir, and A. Roeksabutr TENCON 2007 - 2007 IEEE Region 10 Conference, Oct. 30 2007-Nov. 2 2007 pp. 1 – 3. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  8. Adaptive howling suppressor in an audio amplifier system W. Loctwassana, R. Punchalard, A. Lorsawatsiri, J. Kosccyaporn, P. Wardkcin APCC 2007, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2007, 18-20 Oct. 2007 pp. 445 – 448. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  9. Inverse Tangent Based Algorithm for Constrained Adaptive IIR Notch Filter R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein TENCON 2006. 2006 IEEE Region 10 Conference, 14-17 Nov. 2006 Page(s):1 – 4. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  10. Direct Frequency Estimation Based Kalman Adaptive IIR Notch Filter:State-Space Approach R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein TENCON 2006. 2006 IEEE Region 10 Conference, 14-17 Nov. 2006 Page(s):1 – 4. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  11. Analytic Solution of Amplitude Controlled Digital Oscillator Using Multi-Time Variables Technique R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Circuits and Systems, 2006. APCCAS 2006. IEEE Asia Pacific Conference on, 4-7 Dec. 2006 Page(s):2012 – 2015. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  12. Inverse Tangent Based Adaptive IIR Notch Filter R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Circuits and Systems, 2006. APCCAS 2006. IEEE Asia Pacific Conference on, 4-7 Dec. 2006 Page(s):1208 – 1211. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  13. Bias Removal in Equation Error Adaptive IIR Notch Filter with Constrained Poles and Zeros R. Punchalard, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Communications and Information Technologies, 2006. ISCIT '06. International Symposium on, Oct. 18 2006-Sept. 20 2006 Page(s):278 – 280. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  14. Performance Analysis of the Equation Error Adaptive IIR Notch Filter with Constrained Poles and Zeros R.Punchalard, W. Loetwassana, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Communications and Information Technologies, 2006. ISCIT '06. International Symposium on, Oct. 18 2006-Sept. 20 2006 Page(s):274 – 27. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  15. Modified Adaptive IIR Notch Filter Based on Direct Frequency Estimation Algorithm R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Communication systems, 2006. ICCS 2006. 10th IEEE Singapore International Conference on, Oct. 2006 Page(s):1 – 4. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  16. Dynamic Structure Linear Predictive Coder R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Communications, Circuits and Systems Proceedings, 2006 International Conference on Volume 1, June 2006 Page(s):471 – 474. APCC 2008, 14th Asia-Pacific Conference on Communications, 2008,14-16 Oct. 2008, pp. 1 – 5.
  17. A Modification of Momentum LMS with Variable Momentum Factor W. Loetwassana, R. Punchalard, J. Koseeyaporn, P. Wardkein Communications and Information Technologies, 2006. ISCIT '06. International Symposium on, Oct. 18 2006-Sept. 20 2006 Page(s):11 - 14

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 2342
โทรสาร : xxx-xxxxxxx
e-mail : rachu@mut.ac.th
Close

Prof. Dr. Jirayuth Mahattanakul

ศ.ดร. จิรยุทธ์ มหัทธนกุล
ตำแหน่ง: รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ

การศึกษา

  • วศ.บ. วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • M.S. Electrical Engineering, Florida Institute of Technology, USA
  • Ph.D. Electrical Engineering, Imperial College London, UK

การทำงาน

  • อดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • อดีต ผอ.บัณฑิตไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • อดีตหัวหน้าภาควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

วิชาที่สอน

  • EEET0710 การออกแบบวงจรรวมแบบแอนะล็อก (เฉพาะวิชาใน ป.โท และ ป.เอก)
  • EEET0810 การออกแบบวงจรรวมแบบแอนะล็อก

ทุนวิจัย

  • ทุนวิจัยหลังปริญญาเอก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว)

รางวัลเกียรติยศ

  • บทความดีเด่นการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า
  • Top Downloaded Paper, IEEE Transactions of Circuits and Systems

หัวข้อวิจัยที่สนใจ

  • Analog Integrated Circuit Design

ผลงานตีพิมพ์

  1. J. Mahattanakul, P. Khumsat, and W. Surakampontorn, “Selection of the common-mode feedback network of the fully-differential Gm-C filters,” IET Circuits, Devices and Systems, vol. 3, pp. 49-56, Feb 2009.
  2. J. Mahattanakul, P. Khumsat, and W. Surakampontorn, “Ladder-simulation elliptic bandpass active-RC filter structure employing identical resistors,” IET Circuits, Devices and Systems, vol. 3, pp. 187-196, Aug 2009.
  3. T. Choogorn and J. Mahattnakul, “Relationship between common-mode rejection and differential-mode distortion in fully differential Gm-C filters,” IET Circuits and Devices Syst., vol. 5, no. 6, pp. 518-526, 2011.
  4. T. Choogorn and J. Mahattanakul, “Effects of imbalance input on linearity of pseudo-differential ladder Gm-C filters,” IET Circuits, Devices & Systems, Vol. 7, Iss. 2, pp. 51-58, March 2013.

สถานที่ติต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
140 ถนนเชื่อมสัมพันธ์ แขวงกระทุ่มราย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530
โทรศัพท์ : 662-9883650-55 ต่อ 2214
โทรสาร : -
e-mail : jirayut@mut.ac.th
Close